0.05) สวน ชนิดรองเมล็ด และ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สภาพการเก็บรักษากับชนิดรอง เมล็ด มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง สำหรับการทดลองที่ 2) การทดสอบความพึงพอใจรองผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์แปรรูป 10 ชนิด ประกอบด้วย ความพึงพอใจต่อรูปแบบของผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และความพึงพอใจต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 40 ซ้ำ ผลิตภัณฑ์แปรรูปถั่วดาบ จำนวน 10 ชนิด ประกอบด้วย 1)ต้นถั่วสาสน์รัก 2)พวงกุญแจเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 3) พวงกุญแจเมล็ดสีขาวใส่ข้อความ 4)ที่ห้อยมือถือเมล็ดสีแดงใสีข้อความ 5)ที่ห้อยมือถือเมล็ดสีราวใส่ข้อความ 6)สร้อยคอเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 7)สร้อยข้อมือเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 8)สร้อยข้อมือเมล็ดสีขาวใสข้อความ 9)สร้อยคอเมล็ดสีขาวใส่ข้อความ และ 10)คุ้มหูเมล็ดสีขาวจากการวิเคราะห์ความปรวนแปรของความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อรูปแบบของผลิตภัณฑ์ และความพึงพอใจต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์พบว่า ผลิตภัณฑ์แปรรูปทั้ง 10 ชนิด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่ความพึงพอใจต่อความคิดสร้างสรรค์ของผลิตภัณฑ์มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจมากต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ทั้ง 10 ชนิดเท่ากัน '>
 
 
สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงถั่วดาบเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต้นถั่วสาน์สรัก
ศิริพร พงศ์ศุภสมิทธิ์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงถั่วดาบเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต้นถั่วสาน์สรัก
ชื่อเรื่อง (EN): Sword Bean Improvement for Love Message products
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศิริพร พงศ์ศุภสมิทธิ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Siriporn Pongsupasamit
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาทดลองครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง ดังนี้ การทดลองที่ 1) การทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ต้นถั่วสาส์นรักหลังการแปรรูป โดยวางแผนการทดลองแบบ 2 x 4 Factorial in Completely Randomized Design (CRD) มี 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยที่ 1 สภาพการเก็บรักษา สองสภาพ ประกอบด้วย 1.1) สภาพอุณหภูมิห้อง และ 1.2) ห้องปรับอากาศ ที่อุณหภูมิ 25+ 1' C และ ปัจจัยที่ 2 รนิดของเมล็ด 4 แบบ ประกอบด้วย 2.1) เมล็ดถั่วสีขาว 22) เมล็ดถั่วสีขาวใสข้อความ 2.3) เมล็ดถั่วสีแดง และ 2.4) เมล็ดถั่วสีแดงใสข้อความ ผลการทดลอง พบว่า ผลิตภัณฑ์ต้นถั่วสาสน์รักหลังการแปรรูป ทุกแบบที่เก็บรักษานาน 2 4, 6 และ 8 เดือนทั้งในสภาพอุณหภูมิห้องและในห้องปรับอากาศ มีเปอร์เซ็นต์ความงอก 83-100 % สวนการวิเคราะห์ค่าความปรวนแปรของจำนวนวันที่เมล็ดงอกปรากฎข้อความบนใบเลี้ยงของเมล็ดถั่วทั้ง 4 แบบ ในสองสภาพการเก็บรักษา ณ วันแรกของการเก็บรักษา และหลังการเก็บรักษา 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน และ 8 เดือน พบว่า สภาพการเก็บรักษาไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P > 0.05) สวน ชนิดรองเมล็ด และ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สภาพการเก็บรักษากับชนิดรอง เมล็ด มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง สำหรับการทดลองที่ 2) การทดสอบความพึงพอใจรองผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์แปรรูป 10 ชนิด ประกอบด้วย ความพึงพอใจต่อรูปแบบของผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และความพึงพอใจต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 40 ซ้ำ ผลิตภัณฑ์แปรรูปถั่วดาบ จำนวน 10 ชนิด ประกอบด้วย 1)ต้นถั่วสาสน์รัก 2)พวงกุญแจเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 3) พวงกุญแจเมล็ดสีขาวใส่ข้อความ 4)ที่ห้อยมือถือเมล็ดสีแดงใสีข้อความ 5)ที่ห้อยมือถือเมล็ดสีราวใส่ข้อความ 6)สร้อยคอเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 7)สร้อยข้อมือเมล็ดสีแดงใส่ข้อความ 8)สร้อยข้อมือเมล็ดสีขาวใสข้อความ 9)สร้อยคอเมล็ดสีขาวใส่ข้อความ และ 10)คุ้มหูเมล็ดสีขาวจากการวิเคราะห์ความปรวนแปรของความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อรูปแบบของผลิตภัณฑ์ และความพึงพอใจต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์พบว่า ผลิตภัณฑ์แปรรูปทั้ง 10 ชนิด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่ความพึงพอใจต่อความคิดสร้างสรรค์ของผลิตภัณฑ์มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจมากต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ทั้ง 10 ชนิดเท่ากัน
บทคัดย่อ (EN): There were two experiments in this study. The first one was to compare the quality of love message products after storage. In this experiment, two storage conditions, at room temperature and at 25 + 2 *C, and four seed types, 1) white seed, 2) white seed with love message, 3) red seed, 4) red seed with love message, were compared in 2 x 4 factorial in the R D design. It was found that the percentages of seed germination of all (processed products) after storage for 2. 4, 6 and 8 months in both conditions were 83-100 cent. The analyses of variances for number of days to seeing love message on cotyledon indicated that the seed type and interaction between seed type and storage cosignificantly different (PS0.01). While that for the storage condition was not significantly different (P > 0.05). In the second experiment, the ten processed products were compared for consumer satisfaction to product type, consumer satisfaction to product creation and consumer satisfaction to buying decision in RCBD with 40 blocks. Ten processed products were 1) love message bean 2) red love message seed key ring 3) white love message seed key ring 4) red love message seed hanging 5) white love message seed hanging 6) red love message seed necklace 7) red love message seed hand lace 8 white love message seed hand lace 9) white love message seed necklace and 10) white seed ear ring. The analyses of variances for consumer satisfaction to product type and consumer satisfaction to buying decision indicated that the treatments were not significantly different (P > 0.05) while that for consumer satisfaction to product creation indicated that the treatments were significantly different (p≤0.01). Therefore it can be concluded that the consumers had equal satisfaction to buying decision for the ten products.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-52-035
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2553/siriporn_pongsupasamit_2552/abstract.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงถั่วดาบเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต้นถั่วสาน์สรัก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2552
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาวิธีการแปรรูปและการเก็บรักษามังคุด การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสาเร็จรูป ถั่วเหลืองสำหรับแปรรูปเป็นน้ำนมถั่วเหลือง:สายพันธุ์ GC96026-10 (ลพบุรี 1) การศึกษาคุณสมบัติทางโภชนเภสัชและคุณค่าทางโภชนาการของข้าวที่มีรงควัตถุในแต่ละระยะการเจริญเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์สุขภาพมูลค่าเพิ่ม และผลของการเก็บรักษาข้าวเปลือกต่อสารโภชนเภสัช สมดุลธาตุอาหารในระบบการปลูกปลูกหมุนเวียนข้าว - ถั่ว บนพื้นที่สูงใน ภาคเหนือของประเทศไทย การปรับปรุงพันธุ์ถั่วแดง ผลผลิตและคุณค่าอาหารของหญ้าเนเบียร์ที่ปลูกร่วมกับถั่วเซนโตร การพัฒนาคุณภาพเยื่อกระดาษใบสับปะรดเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าโอทอป โครงการ ปรับปรุงพันธุ์ ถั่วพุ่มและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วพุ่ม โครงการ ปรับปรุงพันธุ์ ถั่วพุ่มและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วพุ่ม ปีที่ 2

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก