สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแพะเหลือง Upeneus sulphureus(Cuvier,1829) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
สนธยา บุญสุข, สิชล หอยมุข, กำพล ลอยชื่น, จริยา ฤทธิสมาน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแพะเหลือง Upeneus sulphureus(Cuvier,1829) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Sunrise goatfish, Upeneus sulphureus(Cuvier,1829) along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแพะเหลือง (Upeneus sulphureus) ทางฝ??งทะเลอันดามันของ ประเทศไทย โดยเก็บรวบรวมข?อมูลจากเครื่องมืออวนลากตามท?าขึ้นสัตว?น้ํา ในพื้นที่จังหวัดระนอง ภูเก็ต ตรังและ สตูล ซึ่งทําการประมงบริเวณน?านน้ําประชิดไทย-พม?า เกาะพยาม หมู?เกาะสุรินทร?หมู?เกาะสิมิลัน เกาะยาวใหญ? หมู?เกาะพีพีเกาะรอก เกาะตาใบ เกาะบุโหลน เกาะอาดัง เกาะตะรุเตา และบริเวณน?านน้ํา ประชิดไทย-มาเลเซียตั้งแต?เดือนมกราคม ถึงธันวาคม พ.ศ. 2550 พบว?าปลาแพะเหลือง มีอัตราการจับเฉลี่ย 0.75 กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือร?อยละ 1.10 ของปริมาณการจับสัตว?น้ําทั้งหมดจากอวนลาก มีการแพร?กระจาย ขนาดความยาวตลอดตัวช?วง 5.50-19.50 เซนติเมตรวิเคราะห?ค?าสมการการเจริญเติบโตของ von Bertalanffy ได?L ) t -1.01(t 0.0175) 21.50 (1-e + = สัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) เท?ากับ 7.90 ต?อป?สัมประสิทธิ์การตาย โดยธรรมชาติ (M) เท?ากับ 2.01 ต?อป?และสัมประสิทธิ์การตายโดยการประมง (F) เท?ากับ 5.89 ต?อป?ปลาแพะ เหลืองมีขนาดเข?ามาทดแทนในเหล?งประมงเท?ากับ 5.50 เซนติเมตรจํานวน 74,220,422 ตัว มีศักย?การผลิต สูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) เท?ากับ 536,010.61 กิโลกรัม ณ ระดับการลงแรงประมงสัมพัทธ? (F-factor) เท?ากับ 0.5 และมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน (MEY) เท?ากับ 6,026,680.00 บาท ณ ระดับการลงแรงประมงสัมพัทธ?เท?ากับ 0.4 ซึ่งป?จจุบันปริมาณการลงแรงประมงมีมากเกินกําลังผลิตของปลาแพะเหลืองแล?ว โดยป?จจุบันมีปริมาณการ จับปลาแพะเหลืองเท?ากับ 489,748.00 กิโลกรัม มีมูลค?าเท?ากับ 4,252,407.00 บาท จากสภาวะการประมง ดังกล?าวจึงได?ศึกษาแนวทางหรือมาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรปลาแพะเหลือง ด?วยการปรับเปลี่ยน ขนาดตาอวนก?นถุงและปรับลดสัดส?วนของการลงแรงประมงของอวนลากแต?ละประเภท พบว?าการขยาย ขนาดตาอวนก?นถุงจาก 2.50 เซนติเมตรเป?น 3.50 เซนติเมตร หรือปรับลดการลงแรงประมงของอวนลากแผ?น ตะเฆ?ขนาด 14 -18 เมตรอวนลากแผ?นตะเฆ?ขนาดน?อยกว?า 14 เมตรและอวนลากคู?ลงร?อยละ 35 7 และ 49 จากการลงแรงประมงในป?จจุบันจะมีผลทําให?ผลจับปลาแพะเหลืองเพิ่มขึ้นใกล?กับศักย?การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน
บทคัดย่อ (EN): Stock Assessment of Sunrise Goatfish (Upeneus sulphureus) along the Andaman Sea Coast of Thailand was studied by collecting data from trawler during January to December 2007. The fishing ground around Thai-Myanmar boundary water, Payam Island, Surin Island, Similan Island, Yaoyai Island, Rok Island, Tabai Island, Adang Island, Buloan Island, Tarutao Island and Thai-Malaysian boundary waters. Average catch per unit effort Upeneus sulphureus was 0.75 kg/hr or 1.10% of total aquatic animal caught by trawler. Size distribution was 5.50 - 19.50 cm von Bertalanffy growth equation was L ) t -1.01(t 0.0175) 21.50 (1-e + = . Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 7.90 2.01 and 5.89 per year, respectively, while size of recruitment in fishing ground was 5.50 cm 74,220,422 in number of Upeneus sulphureus. The maximum sustainable yield (MSY) was 536,010.61 kg at the F-factor 0.50. The maximum sustainable economic yield (MEY) was 6,026,680.00 baht at the F-factor 0.40. Upeneus sulphureus in the Andaman Sea Coast of Thailand is utilized over the MSY level as well as over the optimum fishing effort. The approch on effective management of Upeneus sulphureus has increase mesh size in cod-end and reduce fishing effort on each kind of trawler method, when increase mesh size to 3.50 cm or reduce fishing effort on otter board trawler 14 -18 m, otter board trawler less than 14 m and paired trawler were 35 7 and 49 % respectively, has been increase total catch of U. sulphureus nearly the maximum sustainable yield.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาแพะเหลือง Upeneus sulphureus(Cuvier,1829) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแพะเหลือง(Upeneus sulphureus (Cuvier, 1829)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาลัง (Rastrelliger kanagurta (Cuvier, 1816)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทู Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) ทางฝั่งทะเลอันดามันตอนล่างของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทูแขกครีบยาว Decapterus maruadsi (Temminck & Schlegel, 1843) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาข้างเหลือง Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833)ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย ความชุกชุมและการแพร่กระจายของกั้งตั๊กแตนวัยอ่อน ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก