สืบค้นงานวิจัย
รายงานผลการติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตและการถือครองของเกษตรกรนิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน
วนารัตน์ คำกล่อมใจ - สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ชื่อเรื่อง: รายงานผลการติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตและการถือครองของเกษตรกรนิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วนารัตน์ คำกล่อมใจ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การติดตามและประเมินผลครั้งนี้ เก็บข้อมูลในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียง 8 จังหวัด กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,600 ราช ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการติดตามประเมินผล คือ 1.) เพื่อติดตามและ ประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดินของเกษตรกรนิคมเศรษฐกิจพอเพียงชุ 2.) เพื่อติคตามและ ประเมินผลการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพึ่งพาตนเองของเกษตรกร นิดมเศรษฐกิจพอเพียง เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมิน คือแบบสอบถาม และการสังเกต แล้ว นำมาวิเคราะห์ โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความถี่ ค่าสูงสุด และค่ต่ำสุด ผลการติดตามและประเมินผลการใช้ประโชชน์ที่ดิน เกษตรกรมีพื้นที่เฉลี่ย 18.99 'ไร่ ส่วนใหญ่ทำประ โยชน์ด้วยตนเองร้อยละ 97.8 พืชที่ปลูกมากคือ ไม้ผล ยางพารา ข้าว สัตว์ที่เลี้ยง คือ โค เนื้อ โคนม ไก่ ปลา การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตทางการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรร้อ ละ 42.9 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต เพื่อต้องการลคต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตให้มีคุณภาพดีขึ้น การ ปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตของเกษตรกรส่วนมากจะได้รับความรู้จากเกษตรกรด้วยกันเองในชุมชนที่มีกา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการจัดตั้งศูนย์ดันแบบเศรษฐกิง พอเพียง เพื่อเป็นต้นแบบในการทำการเกษตร ขับเคลื่อนงานในชุมชน และมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้เกษตรกรได้มีการสร้างเครือข่ายระหว่างหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จัง เพื่อให้ได้รับความรู้ เทคโนโลขีสมัยใหม่ นวัดกรรมใหม่ๆ จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ รูปแบบการผลิตของ เกษตรกรส่วนมากเป็นพืชเชิงเคี่ยว ร้อยละ 54.9 อาจเนื่องมาจากสภาพพื้นที่ ผลจากการปรับเปลี่ยนวิธีการ ผลิตทางการเกษตรทำให้ ผลผลิต รายได้ความรู้ เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเกษตรถคลง สภาพดิน สุขภาพของเกษตรกรดีขึ้น การพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโดยวิถีการดำรงชีวิตของเกษตรกรส่วนมากมีกิจกรรม' การพึ่งพาตนเอง เช่น การปลูกข้าว การปลูกพืชผักสวนครัว การปลูกพืชสมุนไพร การเลี้ยงไก่ ปลาไว้เพื่อ บริ โภคในครัวเรือนอยู่แล้วเมื่อเหลือจากการบริ โภคก็จะนำไปจำหน่ายเป็นรายได้ให้กับคร โดยเฉพาะภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคกลางบางจังหวัดและภาคใต้ส่วนมากเป็นการ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ยางพารา ไม้ผล ก็ต้องขายผลผลิตเพื่อนำเงินมาซื้อของเพื่อบริโภค กิจกรรมเสริมมี การทำปุ๋ขหมัก ปุ๊ขคอกน้ำสัมควันไม้ การแปรรูปผลผลิต ไว้ใช้ในครัวเรือน เมื่อดูรายได้ และรายจ่าย ความสมดุลกันโดยเกษตรกรทุกภาคมีรายได้มากกว่ารายจ่าย ซึ่งทำให้เกษตรกรมีเงินออมถึงร้อยละ 63.9
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552
เอกสารแนบ: http://www.alro.go.th/research_plan/ewt_dl_link.php?nid=358
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
รายงานผลการติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตและการถือครองของเกษตรกรนิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน
สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
2552
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
รายงานผลการติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตและการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดระยอง การติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ในที่ดิน และการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตและการพึ่งพาตนเองตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดอำนาจเจริญ การติดตามและประเมินผลการใช้ประโยชน์ในที่ดิน การปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง ปีการเพาะปลูก 2552 การติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดินและการนำแนวคิดตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ประโยชน์ของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน ปี พ.ศ. 2555 การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ การติดตามและประเมินผลการใช้ประโยชน์ในที่ดินและการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของ เกษตรกรในนิคมเศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน ปีการเพาะปลูก พ.ศ. 2553 การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิตของเกษตรกร การติดตามประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดินและการพึ่งตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน ปีการเพาะปลูก พ.ศ.2553 การผลิตและการใช้ประโยชน์จากบอระเพ็ด การใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ : ศึกษากรณีขนาดการถือครองที่ดินไม่เกิน 10 ไร่ต่อครัวเรือน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก