สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนาชุมชนของผู้นำชุมชน ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
จักรพงษ์ พวงงามชื่น - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนาชุมชนของผู้นำชุมชน ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): Community Leader's Potential Development in the Community Development Sector Cherng Doi Sub-District, Doi Saket District, Chiang Mai Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จักรพงษ์ พวงงามชื่น
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Jukkaphong Poungngamchuen
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: พหล ศักดิ์คะทัศน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Phahol Sakkatat
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนาชุมชนของผู้นำชุมชน ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อประเมินประสิทธิผลของยุทธศาสตร์การพัฒนาที่นำมาใช้ การวิจัยประกอบไปด้วย 4 ระยะ คือ 1) การศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาของการพัฒนา 2) การร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา 3) การนำยุทธศาสตร์การพัฒนาลงสู่การปฏิบัติ และ 4) การประเมินประสิทธิผลของยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มเป้าหมายคือผู้นำชุมชนตำบลเชิงดอยจำนวน 41 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สังเกต และสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ SWOT ANALYSIS และสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้นำชุมชนมีปัญหาด้านการพัฒนาชุมชนอยู่ 3 ประการคือ 1) การเขียนโครงการ 2) การพูดถ่ายถอดความรู้และข้อมูลข่าวสาร และ 3) การบริหารจัดการองค์กรชุมชน ดังนั้นผู้นำชุมชนจึงต้องการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในทั้ง 3 ด้านได้ดีมากขึ้น ยุทธศาสตร์การพัฒนาคือ 1) การฝึกอบรม 2) การศึกษาดูงาน 3) การฝึกปฏิบัติจริง และ 4) การติดตามช่วยเหลือเป็นระยะ ประสิทธิผลของยุทธศาสตร์การพัฒนาคือ 1) ผู้นำชุมชนมีความรู้ความเข้าใจใน 3 ด้านมากขึ้นกว่าเดิม 2) เกิดผลลัพธ์ต่างๆ ที่ดีขึ้นในชุมชน
บทคัดย่อ (EN): This study was conducted to develop the potential in community development of community leaders in Cherng Doi sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai. The study consisted of 4 periods as follows: 1) an analysis problem condition for development; 2) determination of development strategies; 3) project implementation; and 4) effectiveness assessment of the development strategies. Interview schedule and group meeting were used for data collection administered with a sample group of 41 community leaders. SWOT analysis and descriptive statistics were also used in this study. Findings showed that the community leaders had 3 problems: 1) project writing; 2) knowledge and information transfer through spoken language; and 3) managerial administration of community organization groups. So, they need to development their potential in 3 aspects mentioned above. The following were used in development strategies: training, educational tour, practice and periodical monitoring. For the effectiveness of the development strategies, it was found that: 1) the community leaders had a better knowledge and understanding in all aspects (3) of the development and 2) it was directly beneficial to the community.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-53-027
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 80,000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2556/jukkaphong_poungngamchuen_2554/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนาชุมชนของผู้นำชุมชน ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสภาองค์การบริหารส่วนตำบลของจังหวัดเชียงใหม่ในการบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน แนวทางการพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดเชียงใหม่ โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในภาคตะวันออก : ระยอง จันทบุรี ตราด และสระแก้ว รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่เหมาะสมของเส้นทางสายแม่ริม-สะเมิง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรชุมชนด้านการท่องเที่ยวและการบริการใน จังหวัดเชียงใหม่เพื่อรองรับเศรษฐกิจอาเซียน รูปแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่ การสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวอินทรีย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์แปรรูปสู่การสร้างรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ ของจังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการพัฒนาชุมชนตลาด : กรณีศึกษาชุมชนตลาดริมน้ำ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชาเมี่ยงอินทรีย์สำหรับผู้ประกอบการ ตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก