สืบค้นงานวิจัย
อิทธิพลของฤดูกาลและดัชนีอุณหภูมิความชื้นต่อการเกิดรกค้างในโคนมลูกผสมขาวดำ
อังคณา ผ่องแผ้ว - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของฤดูกาลและดัชนีอุณหภูมิความชื้นต่อการเกิดรกค้างในโคนมลูกผสมขาวดำ
ชื่อเรื่อง (EN): Influence of Season and Temperature - Humidity Index on Placental Retention in Holstein-Friesian Crossbred Dairy Cattle
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อังคณา ผ่องแผ้ว
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Angkana Phongphaew
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: อัมพวัน ตฤษณารมย์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Umpawan Trisanarom
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โคนมลูกผสมขาวดำที่คลอดปกติในปี พ.ศ. 2526-2538 ของศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่จำนวน 1,039 ตัว รกค้าง 106 ตัว โดยมีอัตราการเกิดรกค้างสูงสุด และต่ำสุด อยู่ในเดือนเมษายนและพฤศจิกายน ตามลำดับ ทั้งนี้ ฤดูกาลไม่มีอิทธิพลต่อการเกิดรกค้าง (P>0.05) ส่วนดัชนีอุณหภูมิความชื้นมีความสัมพันธ์กับอัตราการเกิดรกค้างในทางบวก โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.58 และมีนัยสำคัญทางสถิติ
บทคัดย่อ (EN): Placental retention rates of 1,039 Holstein-Friesian crossbred cows with normal calving during year 1983-1995 at Chiang Mai Livestock Research and Breeding Center were analysed. Highest and lowest rates occurred in April and November respectively. Retention rate was not effected by season (P>0.05), Relationship between Temperature Humidity Index (THI) and placental retention rate was positive, correlation coefficient was 0.58 and statistical significant.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2539
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2540
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247332/169190
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
อิทธิพลของฤดูกาลและดัชนีอุณหภูมิความชื้นต่อการเกิดรกค้างในโคนมลูกผสมขาวดำ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2540
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
อิทธิพลของอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่มีผลต่อพฤติกรรมของเห็บโค พันธุกรรมกับอาหารโคนม ผลของลำดับคลอด ฤดูกาล คะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย อุณหภูมิ และความชื้น ของสิ่งแวดล้อม ต่อการทำงานของรังไข่หลังคลอดของโคขาลำพูน ผลของอุณหภูมิต่อแมลงพาหะ Matsumuratettix hiroglyphicus นำโรคใบขาวอ้อย การเพิ่มสมรรถภาพในการผลิตโคนมโดยใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติค ผลของอุณหภูมิและวิธีการเก็บรักษาต่อแตนเบียนไข่, Trichogramma spp. สมรรถภาพการสืบพันธุ์ของพ่อสุกรพันธุ์แท้และลูกผสม ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม เปรียบเทียบการให้ผลผลิตของปาล์มน้ำมันลูกผสม Elaeis guineensis X Elaeis oleifera ผลของการเสริมโปรตีนไหมต่อการเคลื่อนที่และความสมบูรณ์ของเยื่อหุ้มเซลล์อสุจิของน้ำเชื้อโคนมแบบแช่แข็ง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก