สืบค้นงานวิจัย
การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ปี 2555
สมทรง โชติชื่น - กรมการข้าว
ชื่อเรื่อง: การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ปี 2555
ชื่อเรื่อง (EN): Evaluation of rice genetic resources in the central, eastern and western regions in 2012
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมทรง โชติชื่น
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Somsong Chotechuen
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ฤดูนาปี 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรพันธุกรรมข้าว โดยปลูกศึกษาและบันทึกลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อพันธุ์ข้าวที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และราชบุรี จากการรวบรวมข้อมูลข้าว จำนวน 280 ตัวอย่างเชื้อพันธุ์ พบว่า ข้าวนาสวน พันธุ์ที่ออกดอกเร็วสุด (18 กันยายน) ได้แก่ IR 58025 B (G.S. No. 18443) ออกดอกช้าที่สุด (3 ธันวาคม) ได้แก่ ขาวสุพรรณ (G.S. No. 9585) จำนวนรวงสูงสุด (27.8 รวงต่อกอ) ได้แก่ พันธุ์สุพรรณบุรี 2 (G.S. No. 13746) รวงยาวที่สุด (40.4 ซม.) ได้แก่ พันธุ์ขาวปากหม้อ (G.S. No. 991) ข้าวขึ้นน้ำ พันธุ์ที่ออกดอกเร็วที่สุด (26 ต.ค.) ได้แก่ พันธุ์ขาวแก้ว (G.S. No. 20384) ออกดอกช้าที่สุด (30 พ.ย.) ได้แก่ พันธุ์ขาวเม็ดเล็ก (G.S. No. 14156) จำนวนรวงสูงสุด (10.0 รวงต่อกอ) เช่น พันธุ์เหลืองยายเชย (G.S. No. 3815) ขาวตาหยัด (G.S. No. 7290) ขาวตาหล่อ (G.S. No. 8018) เหลืองระแหง (G.S. No. 12259) รวงยาวที่สุด (32.2 ซม.) ได้แก่ พันธุ์เขียวปิ่นแก้ว (G.S. No. 14683) ข้าวไร่ พันธุ์ที่ออกดอกเร็วที่สุด (28 ก.ย.) ได้แก่ BG 34-5 (G.S. No. 18501) ออกดอกช้าที่สุด (13 ธ.ค.) ได้แก่ CADUNG SO BLOC 1 (G.S. No. 18698) จำนวนรวงสูงสุด (24.2 รวงต่อกอ) ได้แก่ พันธุ์ดอกจัน (G.S. No. 21285) และรวงยาวที่สุด (32.6 ซม.) ได้แก่ พันธุ์นกเขาหนัก (G.S. No. 10864)
บทคัดย่อ (EN): Evaluation of rice genetic resources was conducted in 2012 wet season at 5 rice research centers, namely, Pathum Thani, Suphan Buri, Chachoengsao, Prachin Buri and Ratchaburi. Morphological data were collected from 280 accessions. Lowland rice accessions with the earliest heading date was IR 58025 B (G.S. No. 18443); the latest heading date was KHAO SUPAN (G.S. No. 9585); the highest panicle number was SUPHANBURI 2 (G.S. No. 13746); the longest panicle was KHAO PAHK MAW (G.S. No. 991). Floating rice accessions with the earliest heading date was KHAO GAEW (G.S. No. 20384); the latest heading date was KHAO MED LEK (G.S. No. 14156); Keywords: rice, genetic resources, morphological evaluation some of the highest panicle number were LEUANG YAI CHUEY (G.S. No. 3815) KHAO TAH YAD (G.S. No. 7290) KHAO TAH LAW (G.S. No. 8018) LEUANG RAHAENG (G.S. No. 12259); the longest panicle was KHIAW PIN GAEW (G.S. No. 14683). Upland rice accessions with the earliest heading date was BG 34-5 (G.S. No. 18501); the latest heading date was CADUNG SO BLOC 1 (G.S. No. 18698); the highest panicle number was DAWK JAN (G.S. No. 21285); the longest panicle was PAN NOK KAO NAK (G.S. No. 10864).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
เอกสารแนบ: https://agkb.lib.ku.ac.th/rd/search_detail/result/328780
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมการข้าว
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ปี 2555
กรมการข้าว
2556
เอกสารแนบ 1
กรมการข้าว
การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ปี 2553 การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก ปี 2551 การประเมินลักษณะเชื้อพันธุกรรมข้าวในพื้นที่ภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ปี 2556 แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การเยี่ยมของเกษตรตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณีในภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก รายงานการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพข้าวเปลือกนาปรังในภาคกลางและภาคตะวันตก การศึกษาสภาวะการเพาะปลูกข้าวนาปรังในเขตภาคกลางและภาคตะวันตก การยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ต่างประเทศในภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคตะวันตก การเยี่ยมของเกษตรตำบล ศึกษาเฉพาะกรณีในภาคกลาง ตะวันออก และภาคตะวันตก

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก