สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงปลาเทโพด้วยอาหารสำเร็จรูปที่มีระดับโปรตีนต่ำสลับกับอาหาร ที่มีระดับโปรตีนสูง
ธีระชัย พงศ์จรรยากุล - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงปลาเทโพด้วยอาหารสำเร็จรูปที่มีระดับโปรตีนต่ำสลับกับอาหาร ที่มีระดับโปรตีนสูง
ชื่อเรื่อง (EN): Alternation Feeding of Low Protein and High Dietary Level of Black Ear Catfish (Pangasius larnaudii Bocourt, 1866)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธีระชัย พงศ์จรรยากุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Black ear catfish, Pangasius larnaudii, Feeding, Protein Levels
บทคัดย่อ: การศึกษาการเลี้ยงปลาเท โพด้วยอาหารโปรดีนต่ำ (25%) สลับกับอาหารที่มีโปรตีนสูง (35%) โดยมีชุดการทคลองจำนวน 6 ชุดการทดลอง คือ ให้อาหารโปรดีนต่ำ ให้อาหารไปรตีนสูง ให้อาหารโปรตีนต่ำ 1, 3.5 และ 7 วัน สลับกับการให้โปรตีนสูง ! วัน อาหารทดลองมีค่าพลังงานร่วม (gross cnergy, GE) 445 กิโลแคลอรีต่ออาหาร 100 กรัม ปลามีน้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 178 30+19.78 กรัม ความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย27.151.02 เซนดิเมตร เลี้ยงในกระชังขนาค เX2X1. 5 เมตร ระดับน้ำลืถ 1 90 เมตร ให้อาหารปลากินจนอิ่มวันละ 2 ครั้ง เป็นระยะเวลา 7 เดือน ผลการทคลองพบว่าปลาทุกชุดการทดลองมีคำการเจริญเดิบโด ได้แก่ น้ำหนักสุดท้ายเฉลี่ยน้ำหนักเพิ่มต่อวัน เปอร์เซ็นต์น้ำหนักเพิ่มมีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ค่าประสิทธิภาพของโปรตีนพบว่าชุดการทดลองที่ให้อาหาร โปรตีนต่ำและชุดการทดลองที่ให้อาหารไปรตีนต่ำ5 และ วัน สลับกับโปนสูง 1 วัน มีคำตต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.0มากกว่าชุดการทลองที่ให้อาหารโปรตีนสูงและชุดการทคลองที่ให้อาหารโปรตีนต่ำ เ วันสลับกับโปรคืนสูง1 วัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-0.05) ส่วนปริมาณอาหารที่ปลากินพบว่าชุดทคลองที่ให้อาหารโปรตีนต่ำ7 วัน สดับกับโปรคืนสูง 1 วัน มีค่าปริมาณอาหารที่ปลากินแดกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05)ทดลองที่ให้อาหารโปรตีนต่ำ โปรตีนสูง และให้โปรตีนอาหารต่ำ 1 และ 3 วัน สลับกัค่ามากกว่าชุดการทดลองที่ให้อาหาร โปรตีนต่ำ 5 วัน สลับกับโปรตีนสูง 1 วัน อย่าถิติ (p <0.05)ส่วนค่าอัตราแลกเนื้อ อัตรารอด และผลผลิตปลา พบว่ามีค่แตกต่างนัยสำคัญทางสถิติ (P> 0.05) ผลการทคลองแสดงว่าการเลี้ยงปลาเทโพด้วยอาหารที่มีระดับโปรตีนต่ำสลับกับอาหารที่มีระดับโปรตีนสูง ให้ผลที่ไม่แตกต่างกับชุดการทคลองที่ให้อาหาร โปรตีนต่ำและโปรตีนสูงเพียงอย่างเดียว
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
เอกสารแนบ: http://www.inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=28
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงปลาเทโพด้วยอาหารสำเร็จรูปที่มีระดับโปรตีนต่ำสลับกับอาหาร ที่มีระดับโปรตีนสูง
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2553
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
ระดับโปรตีนที่เหมาะสมในอาหารสำเร็จรูปสำหรับตัวอ่อนระยะต่างๆ ของปูแสม Episesarma singaporense ผลการให้อาหารที่มีระดับโปรตีนต่ำสลับกับโปรตีนสูงต่อการเจริญเติบโตปลากดเหลือง ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาอีกงวัยรุ่น ผลของระดับโปรตีนและระบบการเลี้ยงต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตและลักษณะซากของไก่พื้นเมืองลูกผสม การใช้อาหารผสมเสร็จที่มีระดับโปรตีนต่างกันเลี้ยงแพะเนื้อ การเลี้ยงปลามูดหน้านอด้วยอาหารที่มีระดับโปรตีนต่างกัน ๕ ระดับ อิทธิพลร่วมของระดับโปรตีนและไขมันในอาหารตะพาบน้าไต้หวันวัยอ่อน การใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารเลี้ยงปลาเทโพ ผลของระดับโปรตีนในอาหารข้นสำหรับโครีดนม (2) ในสภาพการให้อาหารหยาบคุณภาพต่ำ ศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมและการเลี้ยงปลาเทโพของเกษตรกรที่เป็นลูกค้าของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดยโสธร

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก