สืบค้นงานวิจัย
การประยุกต์ใช้เครื่องหมายทางพันธุกรรมในการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชสกุลมะปรางเพื่อพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
โองการ วณิชาชีวะ - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้เครื่องหมายทางพันธุกรรมในการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชสกุลมะปรางเพื่อพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
ชื่อเรื่อง (EN): Application of molecular markers to assess genetic diversity in genus Bouea for sustainable economic development
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: โองการ วณิชาชีวะ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาพืชสกุลมะปรางยังมีข้อมูลน้อยมาก ด้วยลักษณะภายนอกมีความยุ่งยากและเกิดความสับสน ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะปรางในประเทศไทย จากการศึกษาด้วยเครื่องหมายโมเลกุลของมะปราง 30 ตัวอย่างจาก 7 จังหวัดในประเทศไทย แสดงให้เห็นว่าพืชในกลุ่มมะปรางมีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ต่ำมาก และการวิเคราะห์ฤทธิ์การยับยั้งอนุมูลอิสระ พบว่าสารสกัดของเปลือกสด เนื้อสด และเมล็ดสดของมะปราง โดยเฉลี่ยทุกพันธุ์มีความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระได้ พบว่าเมล็ดสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งได้ดีกว่าส่วนอื่น ๆ
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
เอกสารแนบ: http://www.thai-explore.net/search_detail/result/6792
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประยุกต์ใช้เครื่องหมายทางพันธุกรรมในการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชสกุลมะปรางเพื่อพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
30 กันยายน 2558
เอกสารแนบ 1
การใช้เชื้อ Ectomycorrhiza ในการเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจเขตภาคอีสานตอนบนของประเทศไทย การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าว โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล SSR การวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมและการจำแนกชนิดพันธุ์ปาล์มน้ำมัน ด้วยเครื่องหมายโมเลกุล การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของทานตะวันโดยเครื่องหมายโมเลกุลชนิดเอสเอสอาร์และอาร์เอพีดี การศึกษาความหลากหลายและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชสกุลคราม (Indigofera L.) ด้วยเทคนิคเครื่องหมายโมเลกุล การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยไม้สกุลกุหลาบและลูกผสมด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพรรณไม้ในสกุลพะยูง (Dalbergia) และการประยุกต์ใช้เพื่อจัดการการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน การพัฒนาเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์จากฐานข้อมูล EST เพื่อวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสกุล Curcuma การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของกล้วยน้ำว้า ในจังหวัดพิษณุโลก โดยใช้เครื่องหมายชีวโมเลกุล การสำรวจและรวบรวมความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชใน Genus Antidesma เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาใช้ประโยชน์ต่อไป

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก