สืบค้นงานวิจัย
การเพาะเลี้ยงกบจาน
วรรณา ถวิลวรรณ์ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเพาะเลี้ยงกบจาน
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding and Rearing of Tiger Frog Rana tigerina Daudin, 1802
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วรรณา ถวิลวรรณ์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเพาะเลี้ยงกบจาน แบ่งการทูดลองเป็น 3 การทคลอง การทคลองที่ ! เพาะพันธุ์กบจานโคยฉีคฮอร์โมนสังเคราะห์ปริมาณ ร และ 10 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์ domperidonc 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และไม่ฉีคฮอร์โมน การทดลองที่ 2 การอนุบาลลูกกบในบ่อซีเมนต์ โดยเปรียบเทียบพื้นซีเมนด์ขัดเรียบและพื้นกระเบื้องเคลือบ การทดลองที่ 3 เลี้ยงกบจานโดยเปรียบเทียบบ่อซีเมนด์และกระชัง คำเนินการทคลองที่สถาบันวิจัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ระหว่างเดือน เมษายน 2547 ถึง สิงหาคม 2547 ผลการทดลองการเพาะพันธุ์กบจาน โดชการฉีดฮอร์โมน buserelin acctate อัตรา 0, 5 และ 10ไมโครกรัม/กิโลกรัม พบว่า อัตราการวางไข่ของแม่ถบมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) คือมีค่า44.44+19.25, 88. 8919.24 และ 88.89# 19.24 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ อัตราการฟักไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ คือ มีค่า 47. 17+5 .27, 58.0S土12.97 และ 59.20*6.15เปอร์เซ็นด์ ตามลำดับ ผลการทดลองอนุบาลลูกอ๊อคในบ่อซีเมนต์ที่พื้นบ่อเป็นพื้นซีเมนต์ขัดเรียบและพื้นกระเบื้องเคลือบ น้ำหนักเฉลี่ย ความยาวเฉลี่ย อัดราการเจริญเติบโคจำเพาะอัตราการรอลตายเฉลี่ยและอัตราการแลกเนื้อเฉลี่ยของถูกกบ ไม่มีความแดกต่างกันในทางสถิติ คือมีน้ำหนักเฉลี่ย2.94-0.34 และ 3.13#0. 13 กรัม ความยาวเฉถี่ย 6.1 0+0.:10 แล ะ 6.0 7:0.12 เชนติเมตร ตามลำคับ อัตราการรอคดาเฉลี่ย 82.25:3,00 และ 8 1.86:2.58 เปอร์เซ็นต์ ตามลำคับ อัตราการแลกเนื้อเฉลี่ย 3.850.67 และ 3.470.20 ตามลำลับ การเลี้ยงกบจานในบ่อชีเมนต์และในกระชัง พบว่าค่าเฉลี่ยความยาว น้ำหนัก และอัตราการรอดตายของกบที่เลี้ยงในกระชังมีค่าเท่ากับ 1 1. 160.57 เชนติเมตร, 271.65*51.16 กรัม และ 86.33-8.08 เปอร์เซ็นด์ คามลำคับ ซึ่งสูงกว่ากบที่เลี้ยงในบ่อซีเมนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-0.0S) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 8.900.52 เชนติเมตร,137.32*21.99 กรัม และ 62.67:3.06 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การเลี้ยงกบในกระชัง มีต้นทุนการผลิดกิโลกรัมละ19.77 บาท ซึ่งต่ำกว่าในบ่อชีเมนต์ที่มีต้นทุน 42.24 บาทกิโลกรัม และมีกำไรกิโลกรัมละ 25.23 บาท สูงกว่าในบ่อซีเมนต์ ที่มีกำไร 2.76 บาทกิโลกรัมจากการทคลองครั้งนี้สรุปได้ว่า การเพาะพันธุ์กบจานควรใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ buserelin aceate ในอัตรา ร ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์ domperidone 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และการอนุบาลลูกกบสามารถอนุบาลให้ในบ่อซีเมนต์พื้นขัดเรียบซึ่งจะใช้ต้นทุนต่ำ ส่วนในการเลี้ยงกบ เมื่อพิจารณาจากการเจริญเดิบโด อัตราการรอดตาย ด้นทุนการผลิต และกำไรแล้วควรดำเนินการเลี้ยงในกระชัง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะเลี้ยงกบจาน
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2551
เอกสารแนบ 1
หนังสือการเพาะเลี้ยงกบ โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง การคัดแยกไดอะตอมขนาดใหญ่จากบ่อพักน้ำของฟาร์มเลี้ยงกุ้งและการเพาะเลี้ยงในระบบการเลี้ยงแบบแบทช์และแบบต่อเนื่อง ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อกิ่งพันธุเบญจมาศที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดลำพูน (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ปี 2547 ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการปลูกหน่อไม้ฝรั่งจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนอาชีพการเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงกว่างชนเชิงพาณิชย์ 2553A17002020 ชีววิทยาของมดฮี้เพื่อการเพาะเลี้ยง ศึกษาสูตรอาหารและส่วนของพืชในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อยางพารา การพัฒนาการเพาะเลี้ยงกว่างชนเชิงพาณิชย์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก