สืบค้นงานวิจัย
การประเมินความสูญเสียทางการเงินในการนำลูกสัตว์น้ำมาใช้ก่อนระยะแรกเริ่มสืบพันธุ์จากการประมงอวนลากคู่ในอ่าวไทยตอนใน
รัตนาวลี พูลสวัสดิ์, นิภา กุลานุจารี, กนกวรรณ แมเร๊าะ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การประเมินความสูญเสียทางการเงินในการนำลูกสัตว์น้ำมาใช้ก่อนระยะแรกเริ่มสืบพันธุ์จากการประมงอวนลากคู่ในอ่าวไทยตอนใน
ชื่อเรื่อง (EN): An Assessment of Financial Loss from Utilization of Juvenile Fish before Size at first Mature from Pair Trawl Fisheries in The Inner Gulf of Thailand.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ประเมินความสูญเสียทางการเงินในการนาลูกสัตว์น้ามาใช้ก่อนระยะแรกเริ่มสืบพันธุ์จากการประมงอวนลากคู่ในอ่าวไทยตอนใน โดยรวบรวมข้อมูลจากเรือประมงอวนลากคู่ที่ท่าเทียบเรือ 3 แห่ง ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ และชลบุรี ระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2555 โดยวิเคราะห์ความสูญเสียจากข้อมูลสัตว์น้าเศรษฐกิจขนาดเล็กในปลาเป็ด ผลการศึกษาพบว่า การประมงอวนลากคู่บริเวณอ่าวไทยตอนในมีอัตราการจับสัตว์น้าเฉลี่ย 106.579 กิโลกรัมต่อชั่วโมง หรือ 22,194.195 กิโลกรัมต่อลา เป็นสัตว์น้าเศรษฐกิจร้อยละ 47.95 และปลาเป็ดร้อยละ 52.05 ในสัตว์น้าเศรษฐกิจประกอบด้วยปลาหน้าดินร้อยละ 50.94 ปลาหมึกร้อยละ 25.29 และปลาผิวน้าร้อยละ 23.29 กลุ่มปลาเป็ดประกอบด้วยสัตว์น้าเศรษฐกิจขนาดเล็กร้อยละ 76.59 และปลาเป็ดแท้ร้อยละ 23.41 และในสัตว์น้าเศรษฐกิจขนาดเล็กมีลูกปลาผิวน้าเป็นองค์ประกอบหลักที่ร้อยละ 59 พบว่าการทาการประมงอวนลากคู่ในอ่าวไทยตอนในมีความสูญเสียทางการเงินรวมทั้งสิ้น 158,758 บาทต่อลาต่อปี ซึ่งเกิดจากการนาสัตว์น้าเศรษฐกิจขึ้นมาใช้ประโยชน์ก่อนวัยเจริญพันธุ์ รวมทั้งจากการคัดแยกและเก็บรักษาสัตว์น้าที่ไม่มีประสิทธิภาพ โดยเป็นความสูญเสียจากสัตว์น้ากลุ่มปลาหมึกมากที่สุดเท่ากับ 83,872 บาทต่อลาต่อปี รองลงมาคือ กลุ่มปลาผิวน้า กลุ่มปลาหน้าดิน กลุ่มกุ้ง และกลุ่มปู กั้ง และสัตว์น้าอื่นๆ สูญเสียเท่ากับ 50,868 23,301 482 และ 236 บาทต่อลาต่อปี ตามลาดับ ความสูญเสียที่เกิดจากการเก็บรักษาหรือคัดแยกสัตว์น้ามีมูลค่าเท่ากับ 36,508 บาทต่อลาต่อปี ซึ่งเป็นความสูญเสียจากกลุ่มปลาผิวน้ามากที่สุดเท่ากับ 32,338 บาทต่อลาต่อปี
บทคัดย่อ (EN): Assessment of financial loss from utilization of premature aquatic animals from pair trawl fisheries in the inner Gulf of Thailand was conducted by collecting data from pair trawlers landed at 3 fishing ports in Prachuap Khiri Khan, Samut Prakan and Chon Buri Provinces during January – December 2012. Data of small economic species in trash fish were analysed for the loss. Results showed that pair trawlers in the inner Gulf of Thailand had their average catch rate at 106.579 kilograms/hour or 22,194.195 kilograms/boat, comprising 47.95% economic species and 52.05% trash fish. Composition of economic group was 50.94% demersal fish, 25.29% cephalopods, and 23.29% pelagic fish; while that of the trash-fish group was 76.59% small economic species and 23.41% true trash fish. Pelagic fish was dominant in small economic group at the percentage of 59%. Total financial loss from pair trawl fisheries in the inner Gulf of Thailand was found at 158,758 baht/boat/year caused by utilization of premature economic species and improper fish sorting and preservation. The losses were mainly from cephalopods which was 83,872 baht/boat/hour, followed by pelagic fish, demersal fish, shrimps, and invertebrates (crabs, mantis shrimps and others) at the amount of 50,868, 23,301, 482, and 236 baht/boat/year, respectively. Financial loss caused by sorting and preservation was found at 36,508 baht/boat/year, mainly on pelagic fish at 32,338 baht/boat/year.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินความสูญเสียทางการเงินในการนำลูกสัตว์น้ำมาใช้ก่อนระยะแรกเริ่มสืบพันธุ์จากการประมงอวนลากคู่ในอ่าวไทยตอนใน
กรมประมง
30 กันยายน 2556
กรมประมง
ความสูญเสียทางการเงินและผลกระทบต่อการค้าในการทำการประมงอวนลากคู่บริเวณอ่าวไทยตอนใน ต้นทุนและผลตอบแทนจากการทำประมงอวนลากคู่บริเวณอ่าวไทยตอนใน การใช้ประโยชน์ทรัพยากรสัตว์น้ำหลังการจับของเรืออวนลากคู่ บริเวณอ่าวไทยตอนบน สัตว์น้ำพลอยจับได้จากการทำประมงอวนลากคู่ในบริเวณอ่าวไทยตอนใน ความสูญเสียเชิงเศรษฐกิจของการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ำจากการทำประมงอวนล้อมจับบริเวณอ่าวไทยตอนใน สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย ทรัพยากรประมงจากเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่บริเวณอ่าวไทยตอนใน การประมงกุ้งทะเลจากเครื่องมืออวนลากคานถ่างและอวนลากแผ่นตะเฆ่บริเวณอ่าวไทยตอนในและบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรัพยากรประมงจากเรืออวนดำบริเวณอ่าวไทยตอนใน ชีววิทยาสืบพันธุ์ของปลาทูในบริเวณอ่าวไทยตอนใน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก