สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา
ณรงค์ศักดิ์ คงชัย, ขวัญชัย ปานแก้ว - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา
ชื่อเรื่อง (EN): Study on Marine Resource Status and Water Quality of Fishing Grounds for Fishing Zone Demarcation in Nakhon Si Thammarat and Songkhla Province.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาทรัพยากรสัตว์น้้าและคุณภาพแหล่งประมงในเขตชายฝั่งพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและ สงขลา เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมีนาคม – ตุลาคม 2558 จ้านวน 29 สถานีส้ารวจ ครอบคลุมเขตชายฝั่งของพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ด้วยเครื่องมืออวนลากแผ่นตะเฆ่ ขนาดตาอวนก้นถุง 2.50 เซนติเมตร ท้า การลากอวนในเวลากลางวัน สถานีละ 3 ชั่วโมง จ้านวน 111 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่าผลจับสัตว์น้้ารวมเฉลี่ยใน เขต 15 ไมล์ทะเล มีอัตราการจับเฉลี่ย 30.46 กิโลกรัม/ชั่วโมง ประกอบด้วยกลุ่มปลาเป็ดแท้สูงสุด รองลงมา คือ กลุ่มปลาหน้าดิน ปลาหมึก ปูปลาผิวน้้า สัตว์น้้าอื่นๆ และกุ้ง เท่ากับ 3.138, 2,636, 0.809, 0.392, 0.304 และ 0.078 กิโลกรัม/ชั่วโมง คิดเป็นองค์ประกอบร้อยละ 75.85, 10.30, 8.65, 2.66, 1.29, 1.00 และ 0.26 ตามล้าดับ เมื่อพิจารณารายเขตตามระยะห่างฝั่งพบว่า สัตว์น้้ามีอัตราการจับสูงสุดในเขต 0-5 ไมล์ทะเล รองลงมา คือ เขต >10-15 ไมล์ทะเล และเขต >5-10 ไมล์ทะเล เท่ากับ 56.337, 20.146 และ 19.795 กิโลกรัม/ชั่วโมง ตามล้าดับ การประมงและประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้้าขนาดเล็กของ เรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา โดยเก็บข้อมูลจากเรืออวนลาก แผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก ระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2558 พบว่ามีอัตราการจับสัตว์น้้าเฉลี่ย 24.15กิโลกรัม/ ชั่วโมง หรือ 517.62 กิโลกรัม/วัน สัตว์น้้าที่จับได้ประกอบด้วยปลาเป็ดร้อยละ 57.89 และสัตว์น้้าเศรษฐกิจร้อยละ 42.11 ส่วนจังหวัดนครศรีธรรรมราช มีอัตราการจับเฉลี่ยอยู่ในช่วง 10.09-37.85 กิโลกรัม/ชั่วโมง อัตราการจับ สัตว์น้้าเฉลี่ย 20.52กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ 591.64 กิโลกรัม/วัน สัตว์น้้าที่จับได้ประกอบด้วยปลาเป็ดร้อยละ 34.35 และสัตว์น้้าเศรษฐกิจร้อยละ 65.65 องค์ประกอบสัตว์น้้าเป็นกลุ่มปลาเป็ดสูงสุด ร้อยละ 36.54 รองลงมา คือ กลุ่มปลาหน้าดิน กุ้ง ปลาหมึก ปลาผิวน้้า ปู และสัตว์น้้าเศรษฐกิจอื่นๆ ร้อยละ 20.91, 17.06, 15.40, 2.57, 1.90 และ 2.61 ตามล้าดับ ในกลุ่มของปลาเป็ดประกอบด้วยสัตว์น้้าเศรษฐกิจขนาดเล็ก และปลาเป็ดแท้ ร้อย ละ 34.43 และ 65.77 ตามล้าดับ สัตว์น้้าเศรษฐกิจขนาดเล็กที่ส้าคัญ คือ กลุ่มปลาหน้าดิน ร้อยละ 20.11 ปลาผิวน้้า ร้อยละ 3.44 ของกลุ่มปลาเป็ดที่จับได้ทั้งหมด อัตราการจับสัตว์น้้าเฉลี่ยในเดือนตุลาคม และ พฤศจิกายน 2558 มีอัตราการจับเฉลี่ยแตกต่างกับเดือนอื่นๆ อย่างมีนัยส้าคัญ (p
บทคัดย่อ (EN): Study of marine resources and the quality of fishing in the coastal province of Nakhon Si Thammarat and Songkhla. Data collected during March - October 2015 the number of polling stations covering 29 coastal districts of Nakhon Si Thammarat and Songkhla. Trawl sheet with sledge mesh size 2.50 cm, the bag bottom trawl at station 3 hours/haul were conducted 111 hauls, the results showed that the average catch per unit effort (CPUE) in the 15 nautical mile with an average catch rate of 30.46 kg/hr. The group consists of genuine catch up, followed by the demersal fish, cephalopods, crabs, pelagic fish, miscellaneous economics species and shrimps equal to 3.138, 2,636, 0.809, 0.392, 0.304 and 0.078 kg/hr. The composition was 75.85, 10.30, 8.65, 2.66, 1.29, 1.00 and 0.26%, respectively, according to the revenue side of the pitch. Fish catch rates are highest in the region, followed by the 0-5 nautical mile zone> 10-15 nautical mile zone and> 5-10 nautical mile equals 56.337, 20.146 and 19.795 kg / hr. Status and economic loss assessment due to the use of juveniles of commercial fishing vessels in coastal areas of Nakhon Sri Thammarat and Songkhla provinces was conducted by collecting data from small otter board trawlers during January-December 2015. The results showed that CPUE was 20.52 kg/hr or 591.64 kg/day in Nakhon Si Thammarat Province and 24.15 kg/hr or 517.62 kg/in Songkhla Province These trawlers caught 65.65% and 42.11% of economic marine species; and 34.35% and 57.89% of trash fish, respectively, and the compositions of trash fish caught by them was 34.43% of young economic marine species; and 65.77% of true trash fish. The catch average in October and November 2558, the month the northeast monsoon. The average catch rate difference with the other months, Significantly (p
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมง เพื่อกำหนดเขตการประมง (Zoning) บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา
กรมประมง
30 กันยายน 2559
กรมประมง
สภาวะการประมงอวนลากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ปี 2556 ทรัพยากรสัตว์น้ำและคุณภาพแหล่งประมงบริเวณชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช และสงขลา สภาวะการทำการประมงปลากุเรา Eleutheronema tetradactylum (Shaw, 1804) ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา ความชุกชุมของสัตว์น้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช การประมงอวนลากคานถ่างที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์จากจังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการประมง 2561 สภาวะการประมงและการประเมินความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์สัตว์น้ำขนาดเล็กของเรือประมงพาณิชย์ในเขตพื้นที่ชายฝั่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา คุณภาพน้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช การประมงทะเลพื้นบ้านบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช การประเมินสถานภาพทรัพยากรประมง เศรษฐกิจสังคม และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการบริหารจัดการประมงแบบมีส่วนร่วมในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง แผนงานวิจัย “การบริหารจัดการทรัพยากรประมงในกว๊านพะเยาเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เชิงอนุรักษ์อย่างยั่งยืน” โครงการย่อย : แหล่งวางไข่ ฤดูวางไข่ กำลังผลิตของสัตว์น้ำและสภาพแวดล้อม เพื่อการจัดการทรัพยากรปร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL