สืบค้นงานวิจัย
ความจำเพาะของปรสิตจากปลากะรังสกุล Epinephelus spp. จากอ่าวไทยตอนล่าง
ชมพูนุช แสงเพ็ง - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ความจำเพาะของปรสิตจากปลากะรังสกุล Epinephelus spp. จากอ่าวไทยตอนล่าง
ชื่อเรื่อง (EN): Specificity of parasite from serranid fish Epinephelus spp. from the lower Gulf of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชมพูนุช แสงเพ็ง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chompunooch Saengpheng
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Watchariya Purivirojkul
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากการศึกษาปรสิตในปลากะรังสกุล Epinephelus spp. 3 ชนิด ได้แก่ Epinephelus coioides, E. erythrurus และ E. quoyanus จากอ่าวไทยตอนล่างระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 เป็นระยะเวลา 12 เดือน พบปลาที่มีปรสิต จำนวน 100 ตัว จากปลาตัวอย่างทั้งหมด 100 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100 พบปรสิตทั้งหมด 2 ไฟ ลัม 7 สกุล 13 ชนิด เป็นปรสิตภายนอก 12 ชนิด ปรสิตภายใน 1 ชนิด ปรสิตภายนอก ได้แก่ ปรสิตกลุ่ม โมโนจีน 9 ชนิด คือ Diplectanum parvus, Haliotrema sp., Pseudorhabdosynochus bacchus, P. coioidesis, P. cupatus, P. justinei, P. vagampullum, Pseudorhabdosynochus sp.I และ Pseudorhabdosynochus sp.II ปรสิตกลุ่มไดจีน 1 ชนิด คือ Gonapodasmius epinepheli ปรสิตกลุ่มโคพีพอด 1 ชนิด คือ Hatschekia sp. และปรสิตกลุ่มไอโซพอด 1 ชนิด คือ Gnathia sp. ระยะ planiza stage ส่วนปรสิตภายในพบทั้งหมด 1 ชนิด ได้แก่ ปรสิตกลุ่ม ไดจีน คือ Helicometra fasciata การพบปรสิตโมโนจีนทั้ง 6 ชนิด ได้แก่ Diplectanum parvus, Pseudorhabdosynochus bacchus, P. coioidesis, P. cupatus, P. justinei, P. vagampullum เป็นการรายงานการพบครั้งแรกในประเทศไทย
บทคัดย่อ (EN): Parasites of serranid fish Epinephelus spp. were studied from the lower Gulf of Thailand. Fish were collected for 12 month during October 2015 to September 2016. A total number of 100 serranid fish were investigated and 100 fish or 100% were found to be infested with parasites. Thirteen species of parasites in 7 genera of 2 phylum were observed. Twelve species were external parasites while 1 species were internal parasite. The external parasites consisted of 9 monogenic trematodes, namely, Diplectanum parvus, Haliotrema sp., Pseudorhabdosynochus bacchus, P. coioidesis, P. cupatus, P. justinei, P. vagampullum, Pseudorhabdosynochus sp.I and Pseudorhabdosynochus sp.II. One species of digenetic trematode, namely, Gonapodasmius epinepheli. One species of copepod, namely, Hatschekia sp. and one species of isopod, namely, Gnathia sp. The internal parasites found only one species of digenetic trematode, namely, Helicometra fasciata. Finding six species of monogenic trematodes, namely, Diplectanum parvus, Pseudorhabdosynochus bacchus, P. coioidesis, P. cupatus, P. justinei, P. vagampullum were the first record of Thailand.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=O028 Fis41.pdf&id=2637&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความจำเพาะของปรสิตจากปลากะรังสกุล Epinephelus spp. จากอ่าวไทยตอนล่าง
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2560
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำเพื่อฟื้นฟูแหล่งประมงบริเวณอ่าวไทยตอนล่างครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่เกาะสมุย เกาะกระ ถึงแหลมตะลุมพุก ความหลากหลายสายพันธุ์ของเชื้อปรสิตที่ติดต่อผ่านทางดินในเด็ก โดยใช้เทคนิคทางโมเลกุล ของพื้นที่มีการปลูกยางพารา ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย เทคนิคการให้อาหารในการอนุบาลลูกปลากะรังเสือ, Epinephelus fuscoguttatus (Forsskal, 1775) ด้วยอาหาสำเร็จรูป ผลผลิตปลากะรังจุดฟ้าในระบบน้ำหมุนเวียน ความหลากหลายของชนิดปรสิตที่พบในปลากะพงแดง Lutjanus johnii และปลากะพงข้างปาน Lutjanus russellii ระดับโปรตีนและไขมันที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลากะรังหงส์ (Cromileptes altivelis) วัยรุ่น การใช้น้ำมันการพูล และ Quinaldine ในการลำเลียงลูกปลากะรังจุดฟ้า (Plectropomus leopardus Lacepede, 1802) รูปแบบและวิธีการในการแช่แข็งและการใช้ประโยชน์น้ำเชื้อแช่แข็งปลากะรังหงส์ Cromileptes altivelis (Valenciennes, 1828) สภาวะการด้านมูลค่าเเละปัญหาโรคปรสิตภายนอกในปลาสวยงามส่งออกใน จ.มุกดาหาร เเละจ.อุบลราชธานี ฤทธิ์ของสารสกัดจากสาหร่ายทะเลบางชนิดในการยับยั้งเชื้อโนดะไวรัสที่ก่อโรคในปลากะรังดอกแดง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก