สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของสารสกัดขมิ้นชันในการป้องกันโรคตายด่วนในกุ้งขาวแวนนาไมที่เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus
เจนจิตต์ คงกำเนิด, จำเริญศรี ถาวรสุวรรณ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของสารสกัดขมิ้นชันในการป้องกันโรคตายด่วนในกุ้งขาวแวนนาไมที่เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus
ชื่อเรื่อง (EN): Efficiency of Turmeric (Curcuma longa Linn.) Extract on Prevention of the EMS Caused by Vibrio parahaemolyticus in white shrimp (Penaeus vannamei Boone, 1931)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN):
ชุดเอกสาร: รายงานการประชุมวิชาการ ประจำปี2561
บทคัดย่อ: ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดขมิ นชันในการป้องกันโรคตายด่วน (EMS/AHPND) ในกุ้งขาวแวนนาไม โดยทดสอบ ความสามารถของสารสกัดขมิ นชันในการยับยั งและฆ่าเชื อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus สายพันธุ์ก่อโรคตายด่วน (VPP) ในหลอดทดลอง พบว่าสารสกัดขมิ นชันด้วย 95% เอธานอล สามารถยับยั งเชื อ VPP โดยใช้ความเข้มข้น 78.12 µg/ml และ ฆ่าเชื อได้โดยใช้ความเข้มข้น 156.25 µg/ml น าสารสกัดขมิ นชันมาผสมอาหารเลี ยงกุ้งขาวแวนนาไมที่ระดับต่าง ๆ ได้แก่ 30, 50, 100, 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัมอาหาร นาน 28 วัน เก็บตัวอย่างกุ้งที่ 7, 14, 21, 28 วัน หลังให้อาหารทดลอง มาตรวจสอบปริมาณเม็ดเลือดรวม ปริมาณแบคทีเรียวิบริโอในกระเพาะอาหารและตับและตับอ่อน การแสดงออกของยีน ที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน และน ากุ้งมาแช่เชื อ VPP เพื่อตรวจสอบความสามารถในการต้านทานเชื อ พร้อมทั งเก็บตัวอย่าง หลังแช่เชื อ 24 ชั่วโมง มาตรวจสอบค่าต่าง ๆ เช่นเดียวกุ้งหลังเลี ยงด้วยอาหารทดลองก่อนการแช่เชื อ พบว่าที่ 7 และ 14 วัน หลังให้อาหารทดลองกุ้งชุดที่ให้อาหารผสมสารสกัดขมิ นชันทุกระดับมีอัตรารอดตายหลังการแช่เชื อ VPP สูงกว่าชุดควบคุม ในขณะที่ 21 และ 28 วัน หลังให้อาหารทดลองมีอัตรารอดต่ ากว่าชุดควบคุม ปริมาณเม็ดเลือดรวมของกุ้งไม่แตกต่างกัน ระหว่างชุดทดลอง ส าหรับการแสดงออกของยันที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันพบว่าที่ 7 วันหลังให้อาหารทดลองผสมสารสกัด ขมิ นชัน 30 mg/kg กุ้งที่ได้รับเชื อ VPP มีการแสดงออกของยีน PO (prophenoloxidase) และ PE (peroxinectin) ในตับ สูงกว่ากุ้งก่อนให้เชื อ แสดงให้เห็นถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื อ VPP จากการศึกษาครั งนี แสดงให้เห็นว่าการใช้สารสกัด ขมิ นชันผสมอาหารเลี ยงกุ้ง 7 - 14 วัน ท าให้กุ้งมีความสามารถในการต้านทานเชื อและการท างานของภูมิคุ้มกันที่สูงขึ น อย่างไรก็ตามการเลี ยงกุ้งโดยอาหารผสมขมิ นชันที่นานเกินไปกลับท าให้ความสามารถในการต้านทานเชื อลดลง ดังนั นระดับ ของสารสกัดขมิ นชันที่เหมาะสมในการเลี ยงกุ้งขาวแวนนาไมคือ 30 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม นาน 7 - 14 วัน
บทคัดย่อ (EN): Efficacy of turmeric extract on prevention of EMS/AHPND caused by Vibrio parahemolyticus were studied by determines an inhibition effect of turmeric extract in vitro against V. parahaemolyticus strain VPP. The minimal inhibitory concentration (MIC) of 95% ethanol extract of turmeric was 78.12 µg/ml and the minimum bactericidal concentration was 156.25 µg/ml. Thereafter, turmeric extract supplemented feed were prepared by top coated on commercial feed at different concentration at 0, 30, 50, 100, 150 mg/kg feed. Feed were randomized fed to 5 g Penaeus vannamei in triplicate for duration of 1 month. Shrimp were sampled at 7, 14, 21 and 28 days post feeding to determine total hemocytes, lipid peroxidation, bacteria in stomach and hepatopancreas, survival rate post VPP immersion and immune related gene expression post VPP immersion. It was found that at 7 and 14 days post feeding all shrimp received turmeric supplemented feed gave a higher survival rate post VPP immersion compared to control while post feeding 21 and 28 days had lower survival rate than control. There were no different of total hemocytes among treatment. At 7days post feeding, PO (prophenoloxidase) and PE (peroxinectin) expression in hepatopancreas of shrimp received 30 mg/kg turmeric supplemented feed was significantly up regulated post and VPP immersion indicating the response of shrimp to VPP infection. From this study suggesting that supplementation of turmeric extract in shrimp feed at 30 mg/kg and feed to shrimp for 7 - 14 days was recommended to prevent shrimp from EMS caused by V. parahaemolyticus strain VPP.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
จำนวนหน้า: 320-333
เผยแพร่โดย: กลุ่มบริหารงานวิจัย กงแผนงาน กรมประมง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: ประมง หรือ สัตว์น้ำ
เจ้าของลิขสิทธิ์: จำเริญศรี ถาวรสุวรรณ
รายละเอียด: Submitted by นางสาวนุชนาฏ เสือจุ้ย กองวิจัยและสุขภาพสัตว์น้ำ กรมประมง (bumba5885@gmail.com) on 2018-09-11T07:25:54Z No. of bitstreams: 1 90064_1746490.pdf: 581327 bytes, checksum: 0278a464c71619073d882dbd680dbf13 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของสารสกัดขมิ้นชันในการป้องกันโรคตายด่วนในกุ้งขาวแวนนาไมที่เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus
กลุ่มบริหารงานวิจัย กงแผนงาน กรมประมง
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
การแพร่กระจายของกลุ่มอาการโรคตายด่วน ( Early Mortality Syndrome ) ในกุ้งขาวแวนนาไม ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อัตราการหายใจ ผลผลิตขั้นต้น คุณภาพน้ำและดินในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว (Penaeus vannamei Boone, 1931) แบบพัฒนา การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ผลของสารสกัดขมิ้นชันในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและเพิ่มความต้านทานเชื้อแบคทีเรียในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จำเพาะเพื่อการวินิจฉัย Vibrio parahaemolyticus ที่ทำให้เกิดโรคตายด่วนในกุ้ง ประสิทธิภาพของสารสกัดเปลือกมังคุด (Gracinia mangostana, Linn) ในการกำจัดจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคในกุ้งทะเล ประสิทธิภาพของแบคทีเรียแลกติก ต่อการเจริญเติบโต การรอดตาย และ ปริมาณแบคทีเรีย Vibrio spp.ในลำไส้ของกุ้งขาวแวนนาไมหลังได้รับเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในห้องปฏิบัติการ รูปแบบการจัดการฟาร์ม และการควบคุมอินทรีย์สารในบ่อกุ้งของเกษตรกร เพื่อป้องกันโรคตายด่วน ในกุ้งทะเล ผลของสารสกัดพรมมิ (Bacopa monnieri (Linnaeus) Pennell, 1946) ต่อการต้านเชื้อ Vibrio harveyi และปริมาณเม็ดเลือดชนิดที่มีแกรนูลใน กุ้งขาวแวนนาไม (Penaeus vannamei Boone, 1931) ผลของยีสต์สกัดต่อการเจริญเติบโตและภูมิคุ้มกันของกุ้งขาวแวนนาไม
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก