สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืด และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนในแม่น้ำมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
พยอม รอตมงคลดี - มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืด และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนในแม่น้ำมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Species Diversity of Freshwater Fish, and Sustainable Utilization in Mun River, Northeast Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พยอม รอตมงคลดี
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ผลการศึกษาความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืดในแม่น้ำมูล ในเขตจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์และสุรินทร์ พบปลาน้ำจืด จำนวน 24 วงศ์ 64 สกุล 107 ชนิด คือ Chitala ornata, Notopterus notopterus, Clupeichthys aesapnensis, Paralaubuca typus, P. riveroi, Oxygaster pointoni, Parachela oxygastroides, P. siamensis, P. maculicauda, Esomus metallicus, Rasbora borapetensis, R. myersi, R. tornieri, R. spilocerca, R. trilineata, Thynnichthys thynnoides, Cycloeheilichthys enoplos, C. furcatus, C. apogon, C. lagleri, C. repasson, Mystacoleucus argenteus, M. ectypus, Puntioplites falcifer, P. proctozysron, Barbodes altus, B. gonionotus, B. schwanenfeldi, Hypsibarbus lagleri, H. wetmorei, Discherodontus ashmeadi, Puntius brevis, Systomus orphoides, S. partipentazona, Osteochilus hasselti, O. melanopleura, O. microcephalus, O. waandersi, Crossocheilus reticulates, C. siamensis, Epalzeorhynchos frenatum, Labeo rohita, Morulius chrysophykadian, Hampala dispar, H. macrolepidota, Henicorhynchus ornatipinnis, H. lobatus, H. siamensis, Labiobarbus siamensis, Acanthopsis thiemmethdi, Yasuhikotakia modesta, Y. morleti, Syncrossus helodes, Lepidocephalichthys hasselti, Pangio anguillaris, Pseudomystus siamensis, Heterobagrus bocourti, Mystus singaringan, M. mysticetus, M. atrifasciatus, Hemibagrus filamentus, H. wickioides, Belodontichthys dinema, Kryptopterus cheveyi, K. geminus, Micronema apogon, M. bleekeri, Ompok krattensis, Wallago attu, Laides longibarbis, Pangasianodon gigas, Pangasius conchophilus, P. hypophthalmus, P. larnaudi, P. macronema, P. pleurotaenia, Helicophagus leptorhynchus, Bagarius yarrelli, Glyptothorax lampris, Akysis varius, Clarias batrachus, C. macrocephalus,Xenantodon cancila, Dermogynys siamensis, Monopterus albus, Macrognathus siamensis, M. semiocellatus, Mastacembelus armatus, Parambassis siamensis, Pristolepis fasciatus, Nandus oxyrhynchus, Oreochromis niloticus, Oxyeleotris marmoratus, Anabas testudineus, Trichopsis pumila, T. vittatus, Trichogaster trichopterus, T. pectoralis, Betta smaragdina, Channa gachua, C. lucius, C. micropeltes, C. striata, Euryglossa harmandi, Monotreta leiurus, M. suvatti, M. fangi
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/292133
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืด และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนในแม่น้ำมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
30 กันยายน 2554
เอกสารแนบ 1
ความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืด และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในแม่น้ำมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ความหลากหลายของชนิดปลาน้ำจืด และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนในแม่น้ำโขงตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ความแตกต่างทางพันธุกรรมของประชากรปลาเศรษฐกิจบางชนิดในแม่น้ำมูลและแม่น้ำโขง (เปลี่ยนแปลงชื่อเป็น โครงสร้างทางพันธุกรรมและการอพยพของประชากรปลากาดำในแม่น้ำมูลตอนล่างและแม่น้ำโขง ความหลากหลายของชนิดสัตว์น้ำ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนในลุ่มน้ำสงคราม การใช้ประโยชน์ของปรสิตเพื่อการเป็นหมายธรรมชาติในการจำแนกกลุ่มประชากรปลาน้ำจืดในภาคใต้ของประเทศไทย ชีววิทยาบางประการของปลาดุกมูลในแม่น้ำมูล จังหวัดอุบลราชธานี การสำรวจความหลากหลายของชนิดปลาและคุณภาพน้ำในแม่น้ำยาว(แม่น้ำสาขาของลุ่มแม่น้ำน่านตอนบน) เพื่อประโยชน์ต่อชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำยาว การเผยแพร่ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและคุณภาพน้ำ บริเวณรอยต่อแม่น้ำแควใหญ่ แม่น้ำแควน้อย และแม่น้ำแม่กลอง จังหวัดกาญจนบุรี ความชุกชุม และความหลากหลายของสัตว์หน้าดินในแม่น้ำจันทบุรี การพัฒนาเครื่องหมายทางพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของปลาท้องถิ่นบางชนิดในแม่น้ำน่าน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก