สืบค้นงานวิจัย
ทรัพยากรประมงจากเรืออวนดำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
ปวโรจน์ นรนาถตระกูล, ฐิติพล เชื้อมั่นคง, สมฤดี ศิริรัตน์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ทรัพยากรประมงจากเรืออวนดำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
ชื่อเรื่อง (EN): Fisheries Resources from Thai Purse Seine in the Inner Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณการจับ อัตราการจับ องค์ประกอบชนิด และขนาดความยาวของ สัตว์น ้าที่ส้าคัญทางเศรษฐกิจบางชนิด จากเรือประมงอวนด้าที่ท้าการประมงในเขตอ่าวไทยตอนใน บริเวณ ท่าเทียบเรือประมงในเขตจังหวัดชลบุรีสมุทรปราการ สมุทรสาคร เพชรบุรี และอ้าเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างเดือนมกราคม ถึง ธันวาคม 2556 พบว่า มีปริมาณการจับสัตว์น ้า 50 – 50,000 กิโลกรัม/วัน อัตราการจับเฉลี่ย 2,114.007 กิโลกรัม/วัน โดยกลุ่มปลาผิวน ้ามีองค์ประกอบสูงสุด คิดเป็น ร้อยละ 84.39 ของสัตว์น ้าทั งหมด รองลงมา ได้แก่ กลุ่มปลาเป็ด กลุ่มปลาหน้าดิน และกลุ่มสัตว์น ้าไม่มี กระดูกสันหลัง ร้อยละ 11.39 3.04 และ 1.18 ของสัตว์น ้าทั งหมด ตามล้าดับ ชนิดหลักของปลาผิวน ้า ได้แก่ ปลาทู(Rastrelliger brachysoma) ปลาหลังเขียวข้างจุด (Sardinella gibbosa) และปลาหลังเขียวสั น (S. albella) มีองค์ประกอบร้อยละ 51.62 13.66 และ 3.83 ของสัตว์น ้าทั งหมด ตามล้าดับ จากการวัดขนาด ความยาวของปลาผิวน ้าเศรษฐกิจ 10 ชนิด พบว่า ปลาผิวน ้า 5 ชนิด ได้แก่ ปลาทู ปลาหลังเขียวข้างจุด ปลาสีกุนบั ง ปลาลัง และปลาแข้งไก่ มีความยาวเฉลี่ยน้อยกว่าขนาดแรกสืบพันธุ์ คิดเป็นร้อยละ 94.74 72.82 96.79 76.14 และ 99.26 ของจ้านวนปลาชนิดดังกล่าวที่จับได้ทั งหมด ตามล้าดับ ส่วนปลาข้างเหลืองมีความ ยาวเฉลี่ยมากกว่าขนาดแรกสืบพันธุ์ ส้าหรับอีก 4 ชนิด ได้แก่ ปลาหลังเขียวสั น ปลาสีกุนเขียว ปลาสะดือขอ และ ปลามงโกรย ยังไม่มีผลการศึกษาเรื่องขนาดแรกสืบพันธุ
บทคัดย่อ (EN): Catch, catch per unit effort (CPUE), species composition and size of some economically important species from Thai purse seine vessels in the inner Gulf of Thailand were studied during January to December 2013 by collecting the data at fishing port in Chon Buri, Samut Prakan, Samut Sakhon, Phetchaburi and Pranburi District, Prachuap Khiri Khan Province. The results showed that the catch ranged from 50 to 15,000 kilogram/day while average CPUE was 2,114.007 kilogram/day. Pelagic fish represented the highest composition of 84.39% of the total catch followed by trash fish, demersal fish and invertebrate made up 11.39%, 3.04% and 1 . 18% of the total catch respectively. The major pelagic species were short mackerel (Rastrelliger brachysoma), goldstripe sardinella (Sardinella gibbosa) and white sardinella (S. albella) sum up 51.62%, 13.66% and 3.83% of the total catch respectively. The size measurement of ten economically important pelagic species found that mean length of five species, i.e., short mackerel, goldstripe sardinella, yellowtail scad, Indian mackerel and torpedo scad, were smaller than their size at first maturity accounted for 94.74%, 72.82%, 96.79%, 76.14% and 99.26% of their total catch respectively. Whereas mean length of yellowstripe scad was larger than its size at first maturity. While another four species, namely white sardinella, shrimp scad, banded scad and kelee shad, have no study on their size at first maturity.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-07-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ทรัพยากรประมงจากเรืออวนดำบริเวณอ่าวไทยตอนใน
กรมประมง
31 กรกฎาคม 2557
กรมประมง
การเปลี่ยนแปลงสภาวะทรัพยากรประมงบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากเรืออวนล้อมจับปลากะตักบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่บริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน ความสูญเสียเชิงเศรษฐกิจของการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ำจากการทำประมงอวนล้อมจับบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากเรือสำรวจประมง 2 ในพื้นที่ปิดอ่าวไทยตอนใน การประมงลอบหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนใน โครงสร้างทรัพยากรสัตว์น้ำหน้าดินบริเวณอ่าวไทยตอนในถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ความสูญเสียทางการเงินและผลกระทบต่อการค้าในการทำการประมงอวนลากคู่บริเวณอ่าวไทยตอนใน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก