สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านพักคนชราในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยกิจกรรมศิลปะบำบัด
สิริพร คืนมาเมือง - มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านพักคนชราในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยกิจกรรมศิลปะบำบัด
ชื่อเรื่อง (EN): Improving Life Quality of Elderly at Chiang Mai Care Homeby Using Art Therapy
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สิริพร คืนมาเมือง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาคุณภาพชีวิตผูสู้งอายุที่อาศยัในบา้นพกัคนชราในจงัหวดัเชียงใหม ่ดว้ยก ิจกรรม ศิลปะบาํบดั มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาบริบท สถานภาพ ลกัษณะทางกายภาพของผูสู้งอายุที่อาศยั ในบา้นพกัคนชรา และเพื่อจดัก ิจกรรมศิลปะบาํบดัการจดัการเรียนรู้และวดัผล เพื่อพฒันาคุณภาพ ชีวิตของผูสู้งอายุในจงัหวดัเชียงใหม ่ โดยกลุ ่มตวัอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั ้งนี ้คือ ผูสู้งอายุสถาน สงเคราะห์คนชราบา้นวยัทองนิเวศน์ อาํเภอแม่แตง จงัหวดัเชียงใหม่ อาย ุ60 ปีขึ้นไป จาํนวน 21 คน ใช้เครื่องมือในการวิจยัคือ แบบสัมภาษณ์และสังเกตพฤติกรรมเบื ้องตน้ของผู้สูงอายุ ชุดก ิจกรรม ศิลปะบาํบัดสําหรับผูสู้งอายุ และแบบประเมินผลการปฏิบัติก ิจกรรม และความก้าวหน้าของ ผสูู้งอายทุี่เก ิดขึ ้นจากก ิจกรรม ในการวิเคราะห์ขอ้มูลทางสถิติ ไดแ้ก่ ค ่าร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (arithmetic mean) และค ่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)เพื่อแสดงความเปลี่ยนแปลงของ ผสูู้งอายกุ ่อนและหลงัการทาํก ิจกรรม ผลการศึกษาพบว่า สถานสงเคราะห์คนชราบ้านวยัทองนิเวศน์ เป็นสถานสงเคราะห์คนชราที่ไม ่สามารถ ช ่วยเหลือตนเองได้หรือประสบปัญหาความทุกข์ยาก เดือดร้อน ยากจน ไม่มีที่อยู่อาศัย หรือ ไม ่สามารถอยู ่ กับครอบครัวได้ สาเหตุที่ผูสู้งอายุเขา้มารับบริการในสถานสงเคราะห์คนชราบา้น วยัทองนิเวศน์คือ ไม ่มีใครเป็นผูดู้แล ไม ่สามารถอยู ่กับลูกหลานได้และบางคนอยู ่ตัวคนเดียว ส ่วนรูปแบบการจดับริการสวสัดิการสังคมให้แก ่ผูสู้งอายุให้บริการรวม 3 ประเภท คือ ประเภท สามญั ประเภทเสียค ่าบริการ และประเภทพิเศษ โดยมีบริการรวมคือ บริการดา้นสังคมสงเคราะห์ และบริการศาสนกิจ ดา้นปัญหาในการดูแลผสูู้งอายใุนสถานสงเคราะห์คือ ในปัจจุบนัผสูู้งอายพุดูคุย หรือทาํความเขา้ใจกันยากและทางสถานสงเคราะห์คนชรามีหนา้ที่ดูแลผสูู้งอายตุั ้งแต ่วนัที่เขา้มาอยู ่ ที่นี่จนถึงวนัสุดทา้ยของลมหายใจ ชุดก ิจกรรมศิลปะบาํบดัสําหรับผูสู้งอายุ เพื่อพฒันาคุณภาพชีวิตของผูสู้งอายุดา้นร ่างกาย อารมณ์ สังคม ประกอบด้วยก ิจกรรมมัดยอ้มกระดาษสา ก ิจกรรมกระเป๋าจากกระดาษมัดยอ้ม ก ิจกรรมตน้สลาก (งานกลุ ่ม) ซ่ึงพฤติกรรมเบื ้องตน้ของผูสู้งอายุก ่อนและหลงัการปฏิบตัิก ิจกรรมศิลปะบาํบดั พบว ่า ก ่อนที่จะเริ ่มปฏิบตัิก ิจกรรมศิลปะบาํบดั ผูสู้งอายุมีความพึงพอใจต ่อการจดั ก ิจกรรมในครั ้งนี ้อยู ่ ในระดบัพฤติกรรมพฤติกรรมมากที่สุด ส ่วนพฤติกรรมดา้นร ่างกายดา้นจิตใจ / อารมณ์ก ่อนปฏิบัติก ิจกรรมอยู ่ในระดับปฏิบัติพฤติกรรมน้อยและปานกลาง และพฤติกรรม ดา้นสังคมอยู่ในระดบัปฏิบตัิพฤติกรรมปานกลางถึงมาก และหลงัจากที่ไดป้ฏิบตัิก ิจกรรมศิลปะ บําบัดไปแล้ว ผูสู้งอายุยงัมีความพึงพอใจต ่อการจัดก ิจกรรมในครั ้งนี ้อยู ่ในระดับพฤติกรรม พฤติกรรมมากที่สุด มีพฤติกรรมดา้นร ่างกายอยู ่ ในระดบัปฏิบตัิพฤติกรรมมากที่สุด ดา้นจิตใจ / อารมณ์ อยู ่ในระดับพฤติกรรมพฤติกรรมมากถึงมากที่สุด และด้านสังคมอยู ่ในระดับปฏิบัติ พฤติกรรมปานกลางถึงมาก
บทคัดย่อ (EN): Improving Life Quality of Elderly at Chiang Mai Care Home by Using Arts Therapy has the objective to investigate the physical condition of the elderly living in the nursing home. And it was also to organize art therapy activities, learning management and evaluation to improve the quality of life of the elderly in Chiang Mai. The population and sample used in this study was the elderly in the nursing homes of the elderly. The results of questionnaire and observation were then analyzed and displayed as percentage, mean, and standard deviation and showed as the discussion below the table to show the change of the elderly before and after the activity. The research found that the Baan Wai Thong Niwet, San Maha Phon sub district, Chiang Mai Province was a home for the elderly who cannot help themselves or suffer from poverty and also have poor housing. They cannot stay with family. The series of arts therapy activities for the elderly was to improve the quality of life of the elderly, such as making bag, handbags from dyed paper and Salaka Pat trunks (group works). The physical behavior of the samples people were at the low to moderate level before the activity. After the activity, the behavior was at the highest level. Mental and emotional behavior was at the low to moderate level before the activity. After the activity, the behavior was at the high to the highest level. The social behavior was at the moderate to high level for both of before and after the activity. And the directly satisfaction of the elderly was at the highest level for both of before and after the activity.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านพักคนชราในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยกิจกรรมศิลปะบำบัด
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
30 กันยายน 2558
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจังหวัดเลย อย่างยั่งยืน โภชนาการที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญพืชผสมถั่วที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุทั่วไปและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธัญพืชผสมถั่วที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุทั่วไปและผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตคนไทย ประติมากรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสายตาในสถานสงเคราะห์เด็ก จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ ประยุกต์ศิลป์สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนในสถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก