สืบค้นงานวิจัย
การประเมินและพัฒนาเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดข้าวเหนียวที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพันธุ์ลูกผสมในพื้นที่สูงศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่าจังหวัดพะเยา
บุญฤทธิ์ สินค้างาม, วรรษมน มงคล - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การประเมินและพัฒนาเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดข้าวเหนียวที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพันธุ์ลูกผสมในพื้นที่สูงศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่าจังหวัดพะเยา
ชื่อเรื่อง (EN): The Evaluation and Development of Waxy Corn Germplasm for Adaptive Potential to Develop into F1 Hybrid in Highland Areas of Pung-Kha Royal Project, Phayao
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดมหาวิทยาลัยพะเยามีวัตถุประสงค์ในการท าการวิจัยเพื่อ พัฒนาพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวที่ให้ผลผลิตสูงและเหมาะกับพื้นที่สูง โดยร่วมมือกับศูนย์พัฒนา โครงการหลวงปังค่า จังหวัดพะเยา ท าการทดสอบผลผลิตลูกผสมเดี่ยวเบื้องต้นในช่วงต้นฤดูฝนปี 2558 จ านวน 7 พันธุ์ พบว่า ให้วันสลัดละอองเกสรและออกไหมระหว่าง 45 - 47 วัน และ 45 - 49 วัน ตามล าดับ โดยคู่ผสมที่ให้ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือกและฝักสดปอกเปลือกสูงที่สุด คือ คู่ผสม UPW-C x UPWQ-C1 และ UPW-B x UPWQ-C1 เท่ากับ 3,000 และ 1,114 กก./ไร่ ในขณะที่ความ ยาวทั้งฝัก เฉพาะในส่วนที่ติดเมล็ด และความกว้างฝักของทุกคู่ผสมเฉลี่ยเท่ากับ 16.41, 13.41 และ 3.75 ซม. ตามล าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์การปอกเปลือก พบว่า คู่ผสม UPW-E x UPWQ-C1 ให้ค่าสูงที่สุด เท่ากับ 52.48% ส่วนเปอร์เซ็นต์การตัดฝาน พบว่า คู่ผสม UPW-F x UPWQ-C1 ให้ ค่าสูงที่สุด เท่ากับ 85% จากผลการประเมินคุณภาพการกัดชิม ได้แก่ ความนุ่ม ความชอบ และ ความหนาของ pericarp พบว่า ทุกคู่ผสมให้ค่าเฉลี่ยในแต่ละลักษณะเท่ากับ 3.51, 3.23 และ 3.27
บทคัดย่อ (EN): The aim of University of Phayao Maize Improvement Project is to fine a uniformity waxy maize that showing good characters and high yields. There was appearance specificity traits in highland area, where associated performing with PungKha Royal Development Center, Phayao. The seven varieties in the preliminary yield trial was evaluated in early rainy season in 2015. Resulted in, days to 50% of anthesis and silking was ranged 45 - 47 and 45 - 49 days, respectively. Yield evaluation, the highest cross of green weight and white weight was UPW-C x UPWQ-C1 and UPW-B x UPWQ-C1 (3,000 and 1,114 kg/rai). Moreover, in the ear performances, length, tip length and width were averaged 16.41, 13.41 and 3.75 cm, respectively. Shelling percentage was the highest in UPW-E x UPWQ-C1 (52.4%). In addition, cutting percentage was crossed of UPW-E x UPWQ-C1 (85%). Most important, the eating qualities, tenderness, flavor and pericarp thickness were strongly assessed and averaged 3.51, 3.23 and 3.27, respectively
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินและพัฒนาเชื้อพันธุกรรมข้าวโพดข้าวเหนียวที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพันธุ์ลูกผสมในพื้นที่สูงศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่าจังหวัดพะเยา
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2558
ทิศทางในการพัฒนาข้าวโพด การพัฒนากระบวนการต้นแบบในการทดสอบพันธุ์ข้าวลูกผสม วันเก็บเกี่ยวข้าวโพดเทียนพันธุ์บ้านเกาะที่ให้คุณภาพฝักและเมล็ดพันธุ์สูงสุด การประเมินสายพันธุ์และเปรียบเทียบพันธุ์ถั่วแดงหลวง ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง การศึกษาโรคที่เกิดกับข้าวเหนียวพันธุ์พื้นเมือง การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเพื่อเพิ่มคุณภาพโปรตีน ความสัมพันธุ์ของแมลงศัตรูข้าวโพดและแอฟลาท็อกซิน ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด โครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยด้านการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ศึกษาวิธีปลูกข้าวโพดฝักสดหลังการปลูกข้าวและผลตอบแทน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก