สืบค้นงานวิจัย
การสกัดน้ำมันจากเมล็ดชะมดต้น (Hibiscus abelmoschus Linn.)
ปทุมทิพย์ ปราบพาล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ชื่อเรื่อง: การสกัดน้ำมันจากเมล็ดชะมดต้น (Hibiscus abelmoschus Linn.)
ชื่อเรื่อง (EN): Oil Extraction of Musk Mallow (Hibiscus abelmoschus Linn.) Seed
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปทุมทิพย์ ปราบพาล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นันทวัน กลิ่นจำปา
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดน้ำมันจากเมล็ดชะมดต้นด้วยตัวทำละลาย ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ ชนิดของตัวทำละลาย คือ เฮกเซน เอทานอล เมทานอล และไดคลอโรมีเทน จากการทดลองพบว่าร้อยละของน้ำมันที่สกัดเท่ากับ 12, 13, 5.5 และ 11.7 ตามลำดับ ศึกษาเวลาในการสกัดด้วยคลื่นอัลตราโซนิกส์ คือ 30, 60, 90 และ 120 นาที จากการทดลองพบว่าเวลา 120 นาที เป็นเวลาที่สกัดสารได้เหมาะสมที่สุดสำหรับการทดลองนี้ คือ ร้อยละ 16.11 โดยน้ำหนัก
บทคัดย่อ (EN): The purposes of this research are oil extraction from Hibiscus abelmoschus Linn. seeds using solvent. The variable is types of solvent are hexane, ethanol, methanol and dichloromethane. It is found that oil extracted were 12%, 13%, 5.5% and 11.7%, respectively. Oil extraction by using ultrasonic is investigated. The variable is time of extraction are 30, 60, 90 and 120 min. It is found that extraction time 120 min is the suitable time in this experiment which is 16.11% by weight.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสกัดน้ำมันจากเมล็ดชะมดต้น (Hibiscus abelmoschus Linn.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
30 กันยายน 2553
การศึกษาผลของอายุการเก็บต่อคุณภาพน้ำมัน และผลของการสกัดต่อปริมาณและคุณภาพของไฟโตเคมมิคอลของน้ำมันเมล็ดต้นหูกวาง การศึกษาการสกัดน้ำมันจากเมล็ดชาเมี่ยง และเมล็ดชาพื้นเมืองภาคเหนือ โดยใช้เทคนิคการสกัดแบบบีบเย็น และการสกัดด้วยของไหลที่สภาวะต่ำและสูงกว่าจุดวิกฤติ รวมถึงการออกแบบเครื่องสกัดต้นแบบ ศึกษาการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพร ศึกษาคุณสมบัติทางเคมีกายภาพและฤทธิ์ในการต่อต้านอนุมูลอิสระของน้ำมันที่สกัดได้จากเมล็ดยางพาราด้วยวิธีการสกัดที่แตกต่างกัน การเพิ่มมูลค่าตะไคร้โดยการสกัดน้ำมันหอมระเหย ระบบการสกัดและแปรรูปน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพร การพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขมิ้นชัน ในเชิงพาณิชย์ วิธีการทำให้เซลล์แตกเพื่อการสกัดน้ำมันจากสาหร่ายขนาดเล็ก การผลิตโปรตีนผงเสริมโอเมก้า 3 6 9 จากผลิตผลพลอยได้ของกระบวนการสกัด น้ำมันเมล็ดอินคาเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมคุณค่า การศึกษากระบวนการสกัด คุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพ และพฤติกรรมการตกผลึกของน้ำมันเมล็ดมะม่วง สายพันธุ์แก้ว เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการนำไปผลิตเป็นเนยโกโก้เลียนแบบ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก