สืบค้นงานวิจัย
เทคโนโลยีการผลิตบัวบกและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: เทคโนโลยีการผลิตบัวบกและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
ชื่อเรื่อง (EN): Production technology of asiatic pennywort (Centella asiatica (L.) Urban) and utilization in health food products
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อมลณัฐ ฉัตรตระกูล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการผลิต การตลาดและรูปแบบการบริ โภคบัวบกใน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ วิธีการผลิตบัวบกปลอดสารพิบ วิธีการผลิตเครื่องดื่มบัวบกใยอาหารสูง ในน้ำสมุนไพร และวิธีการผลิตขนมขบเคี้ยวจากบัวบก โดยมีวิธีการคำเนินการวิจัยทั้งวิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและเชิงทดลอง พบว่า การผลิตบัวบกของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นแบบปลูกแซมกับพืชผัก อาศัย การดูแลให้น้ำใส่ปุ๋ยทางอ้อมจากพืชผัก ส่วนการตลาดบัวบกมีผู้ขายจำนวนน้อย มีทั้งเกษตรกรผู้ปลูก และแม่ค้าขายผักสดที่รับซื้อมาจากเกษตรกร ผู้บริ โภคนิยมบริ โภคเปีนผักแกล้มกับลาบหรือน้ำพริก และน้ำบัวบก สำหรับการผลิตบัวบก การพรางแสงไม่มีผลต่อการเจริญเดิบโตทางใบ แต่มีผลต่อจำนวน ไหลสะสม ส่วนพีทมอสทำให้มีการเจริญเดิบ โตทางใบและ ไหลมากที่สุด และน้ำหมักชีวภาพจากมูล ไส้เคือน และน้ำหมักฮอร์โมนไข่สามารถใช้ปลูกบัวบกแบบไฮโครโปนิกส์ได้ สำหรับผลิตภัณฑ์จากบัวบก การผลิตเครื่องดื่มบัวบกใยอาหารสูงในน้ำสมุนไพร ในรูปของเจลลี่ ที่ผู้บริ โภคชื่นชอบ ประกอบด้วย น้ำคั้นใบบัวบกที่เหมาะสมความเข้มข้น 75 และดอกเก๊กฮวย ส่วน การผลิตขนมขบเคี้ยวจากบัวบกเพื่อส่งเสริมการบริ โภคในเด็กวัยเรียนที่เหมาะสมประกอบด้วย แป้ง ปลายข้าวหอมมะลิและแป้งมันสำปะหลังในสัดส่วน 70:30 น้ำบัวบกความเข้มข้น 30% จำนวน 2 เท่า ของปริมาณแป้ง
บทคัดย่อ (EN): The purposes of this research program were to study the status in production, marketing, and consumption pattern of Asiatic pennywort, production of pesticide-free Asiatic pennywort, production of high fiber Asiatic pennywort jelly in herbal syrup and a snack from the Asiatic pennywort. This study was conducted by a quantitative research, a qualitative research and an experimental research. Results of the research revealed that Asiatic pennywort production of farmers in Muang District, Phetchabun Province was intercropping with vegetable crops. Watering and fertilizing were indirectly from vegetable crops. The Asiatic pennywort markets had fewer vendors which both growers and vegetable seller purchased from farmers. Consumer liked to consume as vegetables eaten with minced meat or sesame paste and Asiatic pennywort juice. For the Asiatic pennywort production, shading did not affect the leaves growth, but it affected to accumulate runner. The peat moss caused to maximum increasing its leaves and runners growth. Bio-extract from vermin-compost and bio-extract from egg hormone can be used to grow Asiatic pennywort hydroponics. For Asiatic pennywort products, production of high fiber jelly in herbal syrup which was suitable for consumer favorite, components with 75% concentration of Asiatic pennywort juice and edible Chrysanthemum flowers. However, production of a snack from the Asiatic pennywort which suitable for Childhood was components with the proportion of jasmine rice and cassava flour were 70:30 and 30% concentration of Asiatic pennywort juice as 2 times of flour.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-09-30
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-10-01
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เทคโนโลยีการผลิตบัวบกและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
1 ตุลาคม 2557
เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ประโยชน์ของไข่น้ำในเชิงพาณิชย์ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือจากการผลิตลำไยเพื่อเป็นอาหารโค ศักยภาพการผลิตปลากัดไทยของจังหวัดฉะเชิงเทราเพื่อเป็นสินค้า OTOP และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปลากัดไทย การใช้ประโยชน์จากใบถั่วมะแฮะเป็นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ II.ผลของการตัดที่อายุต่าง ๆ ต่อปริมาณผลผลิตในปีที่ 2 และการใช้ใบในอาหารลูกโค การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ การศึกษา " งาขี้ม้อน" พืชน้ำมันชนิดใหม่ กับการใช้ประโยชน์ สมบัติทางชีวภาพ การแยก การระบุเอกลักษณ์ของเม็ดแป้ง และการประยุกต์ใช้ส่วนต่างๆ ของเม็ดข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เป็นผลิตภัณฑ์อาหาร การศึกษาการใช้ประโยชน์จากเมล็ดมะขามป่นในอาหารปลานิลแดง รูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาการเปลี่ยนเพศกบนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตอาหารปลอดภัย พันธุกรรมกับอาหารโคนม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก