สืบค้นงานวิจัย
ผลของการใช้ Lactobacillus plantarum ร่วมกับไคโตซาน และ บรรจุภัณฑ์ชนิดกึ่งคงรูปต่อคุณภาพของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน (ระยะที่ 2)
พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: ผลของการใช้ Lactobacillus plantarum ร่วมกับไคโตซาน และ บรรจุภัณฑ์ชนิดกึ่งคงรูปต่อคุณภาพของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Lactobacillus plantarum combined with chitosan and semi-rigid packaging on quality of rambutan cv.Rong-rein (Phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Panida Boonyaritthongchai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Lactobacillus plantarum
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้แบ่งเป็น 4 การทดลอง ไต้แก่ กรทตลองที่ 1.1 ศึกษาปริมาณเชื้อ Lactobacillus plantarum ที่เหมาะสมต่อการลดการเกิดสีน้ำตาลของผลเงาะพ้นธุโรงเรียน โดยใช้ 2 ระดับความเข้มข้น ได้แก่ 10 และ 10 CFU/m( พบว่าผลเงาะที่จุ่มด้วย 10 CFU/ml Lactobacillus plantarum และเก็บ รักษาที่ 13C ลดการสูญสียน้ำหนักของผลสดประมาณ 50% เมื่อเปรียบเทียบกับผลเงาะที่ไม่ได้จุ่มเชื้อ ยังชะลอการเปลี่ยนแปลงค่าสีเปลือก * และ -*ค่ความแน่นเนื้อของเปลือก และมีค่า pH ในส่วนเปลือกลด ต่ำกว่าผลเงาะชุดทดลองอื่นหลังจากเก็บรักษา 6 วัน การทดลอง 1.2 ได้ทำการตรวจสอบเพื่อหาค่าความ เข้มข้นของไคโต๋ชานที่น้อยที่สุดที่มีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโต (Minimum inhibitory concentration, MIC) ของ Lactobacillus plantcrum เพื่อหาความเข้มข้นของสารไคซานที่สามารถนำมาใช้ในการทดลอง โตยไม่ไปยับยั้งการเจริญเติบตของ พบว่า ไโตซานที่ความเข้มข้น 0.1% มีความเหมาะสมในการนำมาใช้ใน การทดลอง การทตลองที่ 2 ทำการศึกษาผลของการใช้ Lactobacillus plantarum การใช้สารละลายไคโต ชาน 0.1% โดยการให้ Lactobacillus plantarum และสารละลายไคโตซาน 0.1% แยกกัน และการใช้ Lactobacillus plantarum ร่วมกับสารละลายไคโตซาน 0.1% แล้วนำไปเก็บรักษาที่ 13"C และ 25 C ต่อ การลดการเกิดสีน้ำตาลของผลเงาะ พบว่าผลเงาะชุดที่เก็บที่ 25 C มีอายุการเก็บรักษา 3 วัน ผลเงาะที่จุ่ม Lactobacillus plantarum และไคโตซานมีการสูญเสียน้ำหนักและการเกิดสีน้ำตาลน้อยกว่าผลเงาะชุด ควบคุม (ชุดที่ไม่ให้สาร) และผลเงาะชุดที่จุ่ม Lactobacillus plantarum มีค่า a* สูงกว่าเงาะชุตที่จุ่มด้วยไค ซานและชุดควบคุม สำหรับการเก็บรักษาที่ 13"C พบว่า การให้ Lactobacillus plantarum 10 CFU/ml ลดการสูญเสียน้ำหนัก ชะลอการเปลี่ยนแปลงสีเปลือก ความแน่นเนื้อของเปลือก มีปริมาณแอนโธไซยานิน สูง กว่าและมีการเกิดสีน้ำตาลน้อยกว่าผลเงะชุดทดลองอื่น รวมทั้งมีคะแนนการยอมรับของผู้บริโภคมากกว่าชุด อื่นอีกด้วย การทดลองที่ 3 เป็นการศึกษารูปแบบภาชนะพลาสติกกึ่งคงรูปที่เหมาะสมในการเก็บรักษาผลเงาะ พบว่าผลเงาะที่เก็บรักษาในกล่องพลาสติกกึ่งคงรูปแบบไม่เจาะรู้สามารถรักษาคุณภาพของผลเงาะได้ดีกว่า บรรจุภัณฑ์พลาสติกกึ่งคงรูปแบบเจาะรูทั้ง 4 และ 8 รู รวมทั้งตะกร้าพลาสติก ในการทดลองที่ 1 เป็นการนำ ชุดทดลองที่ให้ผลดีที่สุดของการทดลองที่ 2 ร่วมกับ 3 ซึ่งได้แก่การจุ่มผลเงาะด้วย Lactobacillus plantarum 10 CFU/ml และเก็บรักษาในกล่องพลาสติกกึ่งคงรูปแบบไม่เจาะรูที่ 13"C โดยชุดทดลองนี้มี ประสิทธิภาพในการลดอาการสีน้ำตาลที่เปลือกเงาะและการสูญเสียน้ำหนักได้ดีกว่าชุดการทดลองอื่น นอกจากนั้นการจุ่มด้วย Lactobacillus plantarum ชะลอการเปลี่ยนแปลงค่าความแน่นเนื้อในส่วนเปลือก การจุ่มผลเงาะด้วย Lactobacillus plantarum และสารละลายไคโตซาน ร่วมกับการเก็บรักษาในภาชนะ บรรจุพลาสติกกึ่งคงรูปไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของเนื้อเงาะได้แก่ ปริมาณของแข็งที่ ละลายน้ำได้ทั้งหมด และปริมาณกรดที่ไตเตรทได้
บทคัดย่อ (EN): This project has divided into 4 experiments as following; the first was to observe proper amounts of suspension Lactobacillus plantarum bacteria for further study in order to reduce browning symptoms in rambutan cv. Rong-rein. Two levels of suspension Lactobacillus plantarum at 107 and 109 CFU/ml were used in this first study. The results showed that rambutan dipped in 109 CFU/ml Lactobacillus plantarum then storage at 13oc reduced water loss as 50% when compared as control rambutan (untreated rambutan). Moreover, this treatment also delayed colour change (L* and a*) of peel, maintained pericarp firmness, decreased pericarp pH than other treatments after 6 days of storage. This experiment also investigated the minimum inhibitory concentration of Lactobacillus plantarum of chitosan solutions. The various chitosan concentrations were treated in 109 CFU/ml Lactobacillus plantarum to observe the minimum inhibitory concentration of Lactobacillus plantarum. The results showed that 0.1% chitosan was the appropriated concentration to use with 109 CFU/ml Lactobacillus plantarum in further study. The second experiment was to study the effect of 109 CFU/ml Lactobacillus plantarum and 0.1% chitosan under 13oC and 25 oC on reducing browning of rambutan. The results revealed that under 25 oC, all treatments had 3 days of storage life. Sample treated with Lactobacillus plantarum and chitosan showed weight loss and browning symptom less than untreated fruits. Rambutan treated with Lactobacillus plantarum showed higher a* value than chitosan treated rambutan and untreated rambutan. Under 13 oC, rambutan treated with Lactobacillus plantarum reduced water loss, maintained peel colour change and firmness of pericarp, contained higher anthocyanin contents and less browning symptoms than untreated rambutan. Moreover, application of Lactobacillus bacillus revealed the highest score of all quality acceptances of consumers. The third experiment, the effects of various packaging on rambutan quality was investigated. The results showed that rambutan kept in semi-rigid packaging with 0 hole maintained the good quality of rambutan than semi-rigid packaging with 4 and 8 holes and untreated fruits. The forth experiment, effects of combination of lactobacillus plantarum (treatment selected from the second experiment) and packaging (treatment selected from the third experiment) on quality of rambutan was monitored. Lactobacillus bacillus treatment combined with semi-rigid packaging (0 hole) reduced browning symptom and weight loss, maintained peel firmness, got higher score of consumer acceptance than other treatments. Finally, treatments with Lactobacillus plantarum and chitosan did not effect of composition changes of rambutan pulps as total soluble solid and titratable acidity.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 467,600.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2557
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการใช้ Lactobacillus plantarum ร่วมกับไคโตซาน และ บรรจุภัณฑ์ชนิดกึ่งคงรูปต่อคุณภาพของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2557
ทดสอบและขยายผลเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตเงาะคุณภาพ รูปทรงกระบอกบนฉลากบรรจุภัณฑ์ สำคัญอย่างไร ระยะเวลาเก็บเกี่ยวและสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเงาะนอกฤดูกาลพันธุ์โรงเรียนใน จ. นครศรีธรรมราช การเปลี่ยนแปลงสีและผลของเคลือบผิวด้วย Sucrose fatty acid ester ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเงาะนอกฤดูกาลพันธุ์โรงเรียน รวมรวม จำแนก ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง รวบรวม จำแนก ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง รวบรวม จำแนก ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง รวมรวบ จำแนก ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ไหมชนิดฟักปีละ 2 ครั้ง การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 2) เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนลูกผสมชุดที่ 2 ในสถานที่ต่างๆ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก