สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาการผลิตสุกรร่วมกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอย่างยั่งยืน (ระยะที่ 2)
รศ.ดร สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาการผลิตสุกรร่วมกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอย่างยั่งยืน (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Integrated the development for sustainable production of swine and bio-organic fertilizer
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รศ.ดร สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเลี้ยงสุกรบนวัสดุรองพื้นที่มีความสูง เ เมตร (หมูหลุม) มีจุดประสงค์เพื่อให้วัสดุรอง พื้นซึ่งเป็นวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรชนิดด่างๆ ถูกย่อยสลายกลายเป็นปุ๊ขอินทรีย์ ได้แบ่ง ออกเป็น 2 การทดลอง (Exp) คือ Exp 1. ได้ศึกษาในสุกรสายพันธุ์ลูกผสม 3 สายเลือด (ดูรอก x ลาร์งไวท์- แลนด์เรซ) จำนวน 60 ตัว ไใดยมีเพศผู้ตอนและเพศเมียอย่างละตรึ่ง แบ่งสุกรออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 4 ซ้ำคือ จำนวน 3, 5 และ 7 วคอก ในขนาดคอก 2x3 ารางหรือเท่ากับ 2.0, 1.2 และ 0.8 ตารางมตร/ตัว เลี้ยงตั้งแต่น้ำหนักตัว เร กก. ให้อาหารที่มีไปรตื่น 3 ระดับ คือ 18, 16 และ 14% ในช่วงสุกรมีน้ำหนักตัว 15-30, 31-60 และ 61-90 กก. ตามสำดับ ส่วนพลังงานให้เท่ากับ 3.2 kcal MEg เท่กันทุกกลุ่ม ผลปรากฏว่า การเลี้ยงแบบ ตัว (ใช้พื้นที่ต่อตัวน้อย) ให้สมรรถภาพการผลิต (อัตราการเจริญเติบใต อาหารที่กินได้ อัตราแลกน้ำหนัก และระซะเวลาที่ใช้เลี้ยง) ด้อยกว่าการเลี้ยง แบบ 3 และ 5 ตัวคอก อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) การเลี้ยงแบบ 3 ตัว/คอก ให้ผลดีที่สุด ส่วนวัสดุ รองพื้นที่ใช้ ซึ่งประกอบด้วยใบลำไขแห้ง ก้นยาสูบ และวัสดุเพาะเห็ดที่ผ่านการใช้แล้ว ไดยใส่ เป็นชั้นๆ ให้มีความหนาชั้นละ 30 ซม. ในแต่ละชั้นไรขด้วรำละเอียด และมูลวัวแห้งในอัตรา 1 และ 10% ของน้ำหนักวัสดุในแต่ละชั้น จากนั้นปิดคลุมหน้ด้วยแกลบ และจะใส่แกลบเพิ่มอีกเมื่อ วัสดุรองพื้นชุบตัวลง ผลปรากฏว่ ในแต่ละคอกใช้วัสดุรองพื้นรวมทั้งสิ้น 1,378 กก. เลี้ยง ปรากฎว่าได้ปุ๊ยหมัก (สุกรหลุม) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเพิ่มการเลี้ยงจาก 3 ตัว/ดอก เป็น ร และ 7 ตัว/คอก กล่าวคือ ได้ปุ๊ยจำนวน 2,100 Vร. 2350 และ 2,680 กก. หรือเท่ากับ 1,127 vs. 1,160 และ 1,286 กก.น้ำหนักแห้ง ตามสำดับ ซึ่งปัยหมักที่ได้ดังกล่าวมีความชื้นใบช่วง 46-52% Exp 2. ได้ศึกษาในสุกรที่มีสายพันธุ์ เพศ แ ละการให้อาหารใช้เช่นเดี่ยวกับการทดลองที่ 1 จำนวน 48 ตัว แบ่งออกเปืน 2 กลุ่มๆ 3 ซ้ำ ในระยะสุกรเล็ก(15-30 กก.) และรุ่น(31-60 ถก.) คือ 6 และ 10 ตัวคอก หรือเท่กับใช้พื้นที่เลี้ยง 10 และ 0.6 ดารางเมตร/ตัว จากนั้นในระยะขุบ(61-90 กก. เลี้ยงแบบปกติ (3 และ 5 ตัวคอก ตามลำดับ) โดยจะใช้วิธีข้าขคอกไปเลี้ยงบนกองวัสดุรองพื้น ชนิดใหม่หลังจากสุกรมีน้ำหนักตัว 60 กก. ผลปรากฎว่า ในช่วงระยะเสี่ก-รุ่น และระขะขุน การ เลี้ยงที่จำนวน 6 ตัว คอก แล้วลดลงเหลือ 3 ตัวคอก มีสมรรถภาพก การผลิตดีกว่า 10 ตัว/ตอก อย่างมี นัยสำคัญทั้ง 2 ระขะ สำหรับวัสดุรองพื้นที่ใช้รองกันหลุม ในระยะสุกรเล็ก รุ่นและขุน ได้ใช้ฟาง ข้าวและวัสดุเพาะเห็ดที่ผ่านการใช้แล้ว ไดขยังคงใส่รำละเอียด และมูลแห้งในอัตราส่วนเช่นเดิม ปรากฏว่า ในระซะแรก (สุกรเล็ก-รุ่น) มีการใช้วัสดุทั้งสิ้น 1.332 และ 1,457 กก. ในคอกที่เลี้ยงแบบ 6และ 10 ตัวคอก ส่วนในช่วงระชะขุนได้ใช้วัสดุรองพื้นเฉลี่ยจำนวน 1,235 และ 1,252 กก.ในคอก เพศผู้ตอนและเพศเมืย ตามลำดับ เมื่อเสร็จสิ้นการเลี้ยงในช่วงสุกรเสี่ด-รุ่น การเลี้ยงแบบ 10 ตัว . เมื่อสิ้นสุดการ คอก ได้ปุ๊ขอินทรีย์มากกว่า 6 ตัวคอก อย่างมีนัยสำคัญ (1,113 vรs. 900 กก. น้ำหนักแห้ง ดามลำคับ) ส่วนในระชะขุน เมื่อลดจำนวนสุกรต่อคอกลงครึ่งหนึ่ง การเลี้ยงแ แบบ s ตัว/ตอก จะได้ปุ๋ยมากกว่า แบบ 3 ตัวลอก อย่างมีนัยสำคัญทั้งสองเพศ กล่าวคือ ได้ปุ๊ยจำนวน 983 จร. 812 กก. น้ำหนักแห้ง ในคอกสุกรเพศผู้ตอน และ 1,068 งร. 791 กก. น้ำหนักแห้ง ในคอกเพศเมีย ตามลำดับ เมื่อนำปุ๋ยอินทรีย์สุกรหลุมจากทุกการทคลองไปหาคุณสมบัติทางเคมี ปรากฏว่า มีธาตุ อาหารหลัก (N, P และ K) สูงกว่าค่ามาตรฐานของปุ๊ยหมัก กล่าวคือ มีค่าเฉลี่ย N = 2.31 vs. 1.0%. P.O = 2.70 vs. 0.5% และ K.0 = 2.02 vs. 0.5% ตามลำดับ เมื่อนำไปทสอบกับการปลูกข้าวไพค ฝึกอ่อน จะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างนำพอใจเมื่อไส่ปุ๋ยสุกรหลุมดังกล่าวลงไปในอัตรา 2 ตัน/ไร่ แต่ ถ้านำปุ๋ขสุกรหลุมไปปรับปรุงคุณภาพด้วยการเติมหินฟอสเฟต แร่เฟลด์สปาร์และกลุ่มหัว เชื้อจุลินทรีย์เพื่อตรึงในไตรเจน เพื่อสลายฟอสฟอรัสและ ไพแทสเซียม ซึ่งมีผลทำให้ปริมาณธาตุ อาหารหลัก กว้นฟอสฟอรัสลตลง ส่วนธาตุอาหารรอง (Ca และ Mg) และ ค่ดัชนีการงอก (Gemination index, G) มีสัดส่วมเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปุ๊ยก่อนทำการปรับปรุงคุณภาพ เมื่อนำปุ๋ยที่ ปรับปรุงคุณภาพตังกล่าวไปทดสอบกับการปลูกข้าวไพดฝักอ่อน ไดยใส่รองพื้นและ ใส่แต่งหน้าที่ อายุปลูก 30 วัน ในอัตรา 1:1 ปรากฏว่า การใส่ในระดับ 0.75-2.00 น/ไร่ ให้ผลผลิตฝักสดและแห้ง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ซึ่งให้ผลดีกว่ากลุ่มควบคุม (ไม่ใส่ปุ๊ข) แต่ก็ยังด้อยกว่ากลุ่มที่ใช้ ปุ๊ขเคมือย่างมีนัยสำคัญ สำหรับการนำปุ๋ขสุกรหลุมไปทดสอบกับพืชที่ให้ผลผลิตสูง คือ องุ่น ซึ่ง ปลูกไดขมูลนิธิโครงการหลวงขุนวาง จ.เชียงไหม่ ปรากฏว่ สามารถใช้แทบปุ้ยคอกและปุ๋ยเคมื (ใช้มูลวัวร่วมกับปุ้ขคมี) ซึ่งเป็นสูตรปุ๊ปกติที่มูลนิธิไตรงการหลวงใช้ประจำได้ ไดยไม่ทำให้ผล ผลิตและความหวานขององุ่นลดลง (2.48 s. 2.39 กก. น้ำหนักผลสดต่อดั้น และ 19.08 งs. 19.75 Brix %)
บทคัดย่อ (EN): Swine raising on deep pit of I meter height, aimed to investigate the appropriated stock density as well as the amount and the quality of organic fertilizer gained from the system, was conducted in 2 experiments. Experiment I, sixty piglets of 3 crossbred line (Duroc x Large White x Landrace) of both sexes with 15 kg initial weight were allotted into 3 treatments of diflerent stock density, i.c. 3, 5, 7 heads/ pen. The area of cach pen was 2 x 3 square meter, therefore the space was 2.0, 1.2 and 0.8 sqm/ head respcctively. Each treatment had 4 replicates. All pigs were fed with the same dict of 3.2 kcal ME/g and 18, 16 and 14% CP during 15-30, 31-60 and 61-90 kg body weight respectively. The result revealed that pigs from the highest stock density (7 pigs/pen) had significantly lower performances ( ADG, feed intake, feed conversion ratio) and required longer raising time than the other 2 groups (P<0.05). The lowest stock density (3 heads/pen) gave the best result. The matcrials used as a litter composed of dry longan leaves, tobacco petiole and mushroom media after harvesting, cach was put in the pit for 30 cm depth. Finc rice bran and dry cattle manure were added on top of cach layer at I and 10% of the material weight. The upper layer was then covered with rice husk. The husk was also added when the litter was compressed during raising period. The amount of all materials being used as a litter in cach pen was 1,378 kg. At the end of the cxperiment, it was found that the compost weight increased significantly with the increasing stock density (3, 5, 7pigs/pen), i.c. 2,100 vs. 2,350 and 2,680 kg wet weight or 1,127 vs. 1,160 and 1,286 kg dry weight/ pen, respectively. The moisture content of the compost was 46-52%. Experiment 2, forty cight piglets of the same crossbred line, sexes and feeding as in experiment I were allotted to 2 treatments, cach with 3 replicated. During starting plus growing periods (15-60 kg), they were raised at 6 and 10 heads/pen (1.0 and 0.6 sqm/head). During fattening period (60 -90 kg live weight) they were moved to a new litter and being kept at only 3 and 5 heads/pen, respectively. It was found that the lower stock density gave better performances than the higher stock density. The matcrials used as a litter were rice straw and mushroom media after harvesting plus fine rice bran and cattle manure at the same rate as in cxperiment 1. The result showed that the amount of materials used in the first period for the 6 and the 10 heads/pen were 1,332 and 1,457 kg while those used for the fattening period were 1,235 and 1,252 kg for male and female pens, respectively. At the end of the first period, the amount of compost gained from the 10 heads/pen was significantly higher than tbe 6 headspen (1,113 vs. 900 kg dry weight). During the fattening period, in which the amount of pig was reduced to the half, the compost gained from the 5 heads/pen was significantly higher than the 3 heads/pen, i.c. (983 vs. 812 kg from barrows and 1,068 vs. 791 kg /pen from sows, on dry weight basis). The result of chemical analysis indicated that these compost had higher N, P, K than the standard compost, i.c. the average valuc of N = 2.31 vs. 1.0%, P.O, = 2.70 vs. 0.5% and K,0 = 2.02 vs. 0.5%, respectively. When this compost was applied for baby com cultivation, it was found that the rate of 2 tons/rai can increase the production remarkably. The compost quality improvement by adding rock phosphatc, feldspar and microorganisms for N, fixation as well as P and K solubilization could increase N, K, Ca, Mg content and germination index of the plant. The application of this improved compost to baby com plantation, at 30 day of cultivation, at the ratc of 0.75 to 2.00 tons/rai, gave similar production of cither fresh or dry cars. The result was better than the control group (no fertilizer) but significantly lower than the group of chemical fertilizer. This fertilizer was also applied to grape plantation at Khun Wang, Royal Project Foundation, Chiang Mai. The result revealed that it can be substituted for cattlc manure plus chemical fertilizer which were usually used at that station. The production and the sweeiness of the grape from the 2 groups were similar (2.48 vs. 2.39 kg and 19.08 vs. 19.75 Brix%, respectively).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาการผลิตสุกรร่วมกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอย่างยั่งยืน (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
30 กันยายน 2552
การพัฒนาการผลิตสุกรร่วมกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพอย่างยั่งยืน การศึกษาวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุอินทรีย์ที่ได้จากการตัดแต่งกิ่งไม้ โครงการนำร่องการจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์สุกร เพื่อรับรองสถานภาพปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคอหิวาต์สุกรเพื่อการส่งออก การศึกษาการผลิตอาหารสุนัข ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีต่ผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette (ชื่อเดิม : ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อผลผลิตและคุณภาพขององุ่นพันธุ์ Perlette) การพัฒนากระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในเชิงธุรกิจ การพัฒนากระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในเชิงธุรกิจ การส่งเสริมการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสุกรด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ Lignocellulolytic Consortium (ระยะที่ 2) ศึกษาอัตราปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มผลผลิตผัก และความอุดมสมบูรณ์ของดิน จังหวัดนครนายก ศึกษาอัตราปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มผลผลิตผักและความอุดมสมบูรณ์ของดิน จังหวัดปทุมธานี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก