สืบค้นงานวิจัย
ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดไม้ดอกที่เป็นทางเลือก โครงการย่อยที่ 1: การศึกษาความคุ้มทุนการปลูกปทุมมา
นฤมล ศรีวิชัย - สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
ชื่อเรื่อง: ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดไม้ดอกที่เป็นทางเลือก โครงการย่อยที่ 1: การศึกษาความคุ้มทุนการปลูกปทุมมา
ชื่อเรื่อง (EN): Sub Project 1: Economic Analysis of Curcuma Varieties.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นฤมล ศรีวิชัย
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาต้นทุน ผลตอบแทน และความคุ้มทุนของการผลิตปทุมมา โดยสัมภาษณ์เกษตรกรและเจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง และโครงการขยายผลโครงการหลวงและผู้ประกอบการภาคเอกชน การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนแบ่งออกเป็น 1) กรณี ปลูกปทุมมานอกฤดูเพื่อจำหน่ายหัวพันธุ์ 2) กรณีปลูกปทุมมานอกฤดูเพื่อจำหน่ายดอก 3) กรณีปลูกปทุมมาในฤดูเพื่อจำหน่ายหัวพันธุ์ และ 4) กรณีปลูกปทุมมาในฤดูเพื่อจำหน่ายดอก ผลการศึกษา พบว่า ทุกกรณีมีความเป็นไปได้ในการลงทุน มีความเหมาะสมและคุ้มค่าต่อการลงทุน เกษตรกรสามารถคืนทุนได้ภายในระยะเวลา 1 ปี มีความเสี่ยงในการลงทุนต่ำ โดยกรณีปลูกปทุมมาในฤดูเพื่อจำหน่ายหัวพันธุ์ มีรายได้และกำไรสูงที่สุด คือ รายได้ 98,972.50 บาท/ไร่/ปี ต้นทุนรวมทั้งหมด 67,157.80 บาท/ไร่/ปี กำไรกรณีไม่จ้างแรงงาน 57,354.70 บาท/ไร่/ปี กำไรกรณีจ้างแรงงานทั้งหมด 36,814.70 บาท/ไร่/ปี ในด้านการตลาดประเทศไทยส่งหัวพันธุ์ปทุมมาไปจำหน่ายต่างประเทศมากถึง 75 ประเทศ 5 ลำดับแรก คือ เยอรมัน ญี่ปุ่น อเมริกา เบลเยี่ยม อิตาลี มียอดส่งออกหัวพันธุ์ และต้นดอกปทุมมารวมแล้วมากกว่า 20 ล้านบาทต่อปี เฉพาะที่มีใบรับรองสุขอนามัยพืช สำหรับตลาดในประเทศ มีบริษัทเอกชน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และพ่อค้าอำเภอภูเรือ จังหวัดเลย รับซื้อปีละไม่ต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดไม้ดอกที่เป็นทางเลือก โครงการย่อยที่ 1: การศึกษาความคุ้มทุนการปลูกปทุมมา
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
30 กันยายน 2557
การจัดการความรู้สำหรับโครงการวิจัยเชิงบูรณาการ การพัฒนาระบบการสร้างปทุมมาสายพันธุ์ใหม่ การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมการข้าวกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดผักพื้นบ้าน โครงการวิจัยการศึกษาความคุ้มทุนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในการปลูกพืชในโรงเรือนชนิดต่างๆ โครงการการวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางด้านเศรษฐศาสตร์ในการลงทุนการผลิตทางการเกษตร : กรณีการศึกษาการปลูกพืชในโรงเรือน ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดไม้ดอกที่เป็นทางเลือก โครงการย่อยที่ 2 : การศึกษาวิธีเพิ่มปริมาณหัวพันธุ์ปทุมมา โครงการวิจัยเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตต้นกล้าอาโวกาโดและการปลูกอาโวกาโดบนพื้นที่สูง การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเครือข่ายอินแปง บ้านบัว อำเภอกุดบากจังหวัดสกลนคร ชุดโครงการศึกษาเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดดอกเบญจมาศ โครงการย่อยที่ 3 การศึกษาตลาดคู่แข่ง วิเคราะห์ศักยภาพในการผลิตเบญจมาศ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก