สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนต์ด้วยอัตราความหนาแน่นที่แตกต่างกัน
อนุวัติ อุปนันไชย - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนต์ด้วยอัตราความหนาแน่นที่แตกต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): CULTURE OF COMMON LOWLAND FROG, Rana rugulosa (Wiegmann)IN CEMENT TANK AT DIFFERENT STOCKING DENSITIES
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อนุวัติ อุปนันไชย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การทคลองเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนด์ด้วยอัตราความหนาแน่นที่แคกด่างกัน แบ่งการทดลองเป็น 3 ช่วงอายุการเลี้ยง คือ ช่วงอายุการเลี้ยงที่ 1 กบนาอายุ ร0 วัน ถึง 80 วัน เลี้ยงด้วยอัดราความหนาแน่น 25, 50, 75, 100 และ 125 ตัวตารางเมตร ช่วงอายุการเลี้ยงที่ 2 กบนาอายุ 80 วัน ถึง 110 วัน เลี้ยงด้วยอัดราความหนาแน่น 15, 30, 45, 60 และ 75 ตัว/ตารางเมตร และช่วงอายุการเลี้ซงที่ 3 กบนาอายุ 110 วัน ถึง 140 วัน เลี้ยงด้วยอัตราความหนาแน่น 10, 20, 30, 40 และ 50 ตัว/ตารางเมตร การทคลองดำเนินการในบ่อชีเมนต์ ขนาด 2x2x 1.5 เมตร โดยใช้ระดับน้ำ 30 เซนติมตร์ ให้อาห ารสำเร็จรูป ชนิดเม็ดลอขน้ำระดับโปรดีน 30 เปอร์เชื่นต์ ทำการทดลองที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืคแพร่ ดั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนชันวาคม 2547 ผลการทดลองพบว่าช่วงอายุการเลี้ยงที่ กบนาที่เลี้ยงด้วยอัดราความหนาแน่น 25 ตัว ดารางเมตร มีน้ำหนักเฉลี่ยสุดท้าข ความยาวเฉลี่ยสุดท้าย น้ำหนักเพิ่มต่อวัน อัตราการเจริญเดิบโคจำเพาะและอัดรารอดดายมากกว่าทุกชุคการทคลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ช่วงอายุการเลี้ยงที่ 2 กบนาที่เลี้ยงคัวยอัคราความหนำแน่น ง5 ตัวตารางเมคร มีน้ำหนักเฉลี่ยสุดท้าย ความยาวเถลี่ยสุดท้าย น้ำหนักเพิ่มต่อวัน และอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะมากกว่าทุกชุดการทคลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) อัดรารอดดายของกบนาที่เลี้ยงด้วขอัตราความหนาแน่น เ5 ตัวตารางเมตร มากกว่ากบนาที่เลี้ยงด้วยอัดรความหนาแห่น 30, 60 และ 75 ตัวคารางเมตร อข่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และช่วงอายุการเลี้ยงที่ 3 พบว่ากบนาที่เลี้ยงด้วขอัดราความหนาแน่น 10 ตัว/ตารางเมตร มีการเจริญเดิบโต โดยน้ำหนักเฉลี่ยสุดท้ายน้ำหนักเพิ่มต่อวัน และอัตราการเจริญเติบโดจำเพาะมากกว่าทุกชุดการทคลอง ย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอัดรารอดตายของกบนาที่เลี้ยงด้วขอัดราความหนาแน่น 10 ว/ตารางเมตร มีค่ามาที่เลี้ยงด้วยอัดราความหนาแน่น 30, 40, 50 ตัว/ตารางเมตร อข่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ค้านดันทุนการผลิตพบว่า ช่วงอายุการเลี้ยงที่ ! มีต้นทุนการผลิดต่อกิโลกรัมอยู่ระหว่าง 52.08 ถึง 57.18 บาท รายได้สุทธิมีค่าระหว่าง -77.57 ถึง -304.61 บาท และกำไรสุทธิ มีค่าระหว่าง -88.69 ถึง -315.73 บาท และผลดอบแทนต่อการลงทุน มีค่าระหว่าง -21.99 ถึง -28,99 เปอร์เซ็นด์ ช่วงอายุการเลี้ยงที่2 มีต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมอยู่ระหว่าง 45.63 ถึง 48.50 บาท รายได้สุทธิมีค่าระหว่าง 21.04 ถึง 111.93 บาทและกำไรสุทธิมีค่าระหว่าง 9.93 ถึง 100.81 บาท และผลตอบแทนต่อการลงทุน มีค่าระหว่าง 6.52 ถึง 10.64 เปอร์เซ็นต์ และช่วงอายุการเลี้ยงที่ 3 มีต้นทุนการผลิดต่อกิโลกรัมอยู่ระหว่าง 48.65 ถึง 56.52 บาท รายได้สุทธิมีค่าระหว่าง 30.00 ถึง 225.28 บาท และกำไรสุทธิมีค่าระหว่าง 18.88 ถึง 214.16 บาท และผลดอบแทนต่อการลงทุนมีค่าระหว่าง 9.78 ถึง 24.65 เปอร์เซ็นต์ เมื่อพิจารณาต้นทุนการผลิตพบว่า อัตราความหนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงกบนาช่วงอายุการเลี้ยงที่ 1, 2 และ 3 คือ 100, 75 และ 50 ตัว/ดารางเมตร เนื่องจากในอัดราความหนาแน่นดังกล่าวมีต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรับต่ำสุด และมีผลตอบแทนต่อการลงทุนสูงกว่ากบนาที่เลี้ยงด้วยอัดราความหนาแน่นอื่นๆ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2548
เอกสารแนบ: http://inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=137
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนต์ด้วยอัตราความหนาแน่นที่แตกต่างกัน
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2548
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
ศึกษาการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De Man, 1888) ในบ่อซีเมนต์ในระดับความหนาแน่นและอัตราส่วนเพศแตกต่างกัน การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายของการเลี้ยงปลานิลร่วมกับกุ้งขาวแวนนาไมในความหนาแน่นที่ต่างกันในน้ำความเค็มต่ำ การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิด การอนุบาลลูกอ๊อดกบนาด้วยความหนาแน่นที่ต่างกัน การเลี้ยงลูกปลาช่อนด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ผลของความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของการเลี้ยงปลาหมอไทยในกระชังในที่ดินพรุ จังหวัดนราธิวาส การพัฒนาฟาร์มต้นแบบการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบน้ำหมุนเวียนเชิงพาณิชย์ การพัฒนาฟาร์มต้นแบบการเลี้ยงปลากะพงขาวความหนาแน่นสูงในระบบน้ำหมุนเวียนเชิงพาณิชย์ การอนุบาลลูกอ๊อดกบนาในกระชังที่อัตราความหนาแน่นแตกต่างกัน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก