สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม
นวลศรี รักอริยะธรรม - สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม
ชื่อเรื่อง (EN): Industrial Development of Lanna Purple Rice: Bioactive Compounds Extraction and Separation Process Development from Lanna Purple Rice and Value-added Products Development from Lanna Purple Rice for Industrial uses
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นวลศรี รักอริยะธรรม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การพัฒนากระบวนการสกัดแยกสารอกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวกำล้านนาเพื่อให้ได้คุณภาพสูง ได้ดำเนินการโดยทำการรวบรวมสายพันธุ์ข้าวในภาคเหนือหรือข้าวกั๋ล้านนาจากจังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยาและลำพูน 20 สายพันธุ์โดยเป็นข้าวเจ้า 6 สายพันธุ์และข้าวเหนียว 14 สายพันธุ์ นำข้าวทั้ง 20 สายพันธุ์ที่ผ่านการสกัดด้วยเฮกเซน (สารสกัดนชั้นตัวทำละลายไม่มีขั้ว) มาสกัดต่อ โดยใช้ตัวทำละลายมีขั้ว (polar) ได้แก่ น้ำ เมทานอลและเอทานอล แล้วนำมาตรวจสอบสารประกอบฟื นอลิกทั้งหมดและแอนทไชยานิน โดยวิธีสเปกโทรโฟโตมิตรีและวัดสารต้นอนุมูสอิสระโดยวิธี DPPH, ABTS และลิปิตเปอร์อกซิตชัน พบข้าวหลายสายพันธุ์มีสารประกอบฟืนอลิก สารแอนโทไชยานินและสารต้าน อนุมูลอิสระในปริมาณสูงและมีศักยภาพเชิงการค้า โดยสารสกัด 80% เมทานอล (methanol) พบ ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดและแอนโทไชยานินสูงที่สุด (6,520 [Ig GAE/g ice และ 6,931 Ig /g rice ตามลำดับ ) รองลงมาเป็น 80 % เอทานอล (ethano!) และน้ำ โตยตัวอย่างที่มีปริมาณสารดังกล่าวสูง ได้แก่ตัวอย่างที่ 6, 7, 9, 12 และ 13 ส่วนการตรวจสอบสารต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH และABTS ของ สารสกัต 80% เมทานอล, 80 9เอทานอล และน้ำ พบตัวอย่างที่มีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระคือ ตัวอย่างที่ 7, 9,11,12,13, 14 และ 20 ส่วนฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี linoleic peroxidation wบ ตัวอย่างที่มีศักยภาพทั้งในสารสกัด เมทานอล, เอทานอล (และน้ำแตกต่างจากระบบ DPPH และABTS โตย ตัวอย่างที่มีศักยภาพได้แก่ตัวอย่างที่ 2, 4, 5, 10, 18 และ 20 สำหรับสารสกัดในชั้นตัวทำละลายไม่มีขั้ว (non polar) ซึ่งสกัดด้วยเฮกเซน ได้นำมาตรวจสอบ สารไบโอแอคที่ฟแกมมาออริซานอล (y--rizanol) และวิตามินอี พบตัวอย่างที่มีแกมมาออริซานอลสูง (932-1,610 มก/กก. ข้าว ได้แก่ตัวอย่างที่ 5,6,19 และตัวอย่างที่มีวิตามินอีสูง (19.5-21.2 มก./กก. ข้าว) ได้แก่ตัวอย่างที่ 2,4.6,19 จากการนำตัวอย่างในชั้นตัวทำละลายมีขั้วและไม่มีขั้ของสารสกัดข้าวค่ำ ไปตรวจสอบสมบัติ ต้านการเจริญเติบโตของเชื้อก่อโรค Bacillus subtis, Escherichia coli, Solmonella typhimurium และStaphylococcus aureus พบสรสกัตตัวอย่างที่ 2, 3,4,5.6.7.9,11,12,13,14,18,19,20 มีฤทธิ์ยับยั้ง การเจริญเติบโตของแบคทีเรียทั้ง 4 ชนิดมากน้อยแกต่างกันขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร เมื่อนำสารสกัด 80% เอทานอล จากข้าว 15 สายพันธุ์ มาตรวจสอบฤทธิ์ในแง่ความเป็นพิษต่อ เชลล์ปกติ (เซลล์ของตลิง)พบสารสกัดจากข้าวก่ำ 15 สายพันธุ์ ตังกล่าว (2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 18, 19 และ 20)ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ปกติในแง่ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติมโตซองเซลล์มะเร็งช่องปาก มะเร็งปอด และมะเร็งผิวหนังหนู พบสารสกัดจากข้าวก๋ำไม่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งตังกล่าว ทั้งนี้อาจ เป็นเพราะสารสกัดเป็นสารสกัตหยาบที่ไม่ใด้ทำบริสุทธิ์ ในแง่ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส (acety(cholinesterase) เพื่อตรวจสอบเบื้องตันถึงความสมารถในการต้นอัสไซเมอร์ พบว่า สารสกัดชนิต ไม่มีขั้ว ที่ 1 มก/มล. ไม่มีผลยับยั้งเอนไซม์ ส่วนความเข้มข้น 5 มก/มล. สามารถยับยั้งได้ 0.86-16.9% ส่วนสารสกัดมีซั้วของชั้นน้ำ, 80% เอทานอล และ 80% เมทานอล บที่ความข้มข้น 1 มก./มล. ให้ผลการ ยับยั้งมากสุดไม่เกิน 14% แต่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นถึง 5 มก/มล. พบ 96 การยับยั้งเอนไซม์สูงขึ้น โดยในชั้น น้ำสามารถยับยั้งได้สูงสุด 17.99 ชั้น 809 เมทานอล ยับยั้งได้ 21.99 และชั้น 80% เอทานอล ยับยั้งได้ถึง 35.4 % ซึ่งควรมีการทำบริสุทธิ์บางส่วน และศึกษาในลำดับถัดไป จากการศึกษาฤทธิ์ต้านเบาหวานโตยใช้ระบบการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากสูโคซิเดส (a-slucosidase) และฤทธิ์ต้านไกลเคชันโดยปฏิกิริย1 Methylglyoxal scavenging, bovine serum albumin-methylslyoxal และ bovine serum albumin (BSA)-glucose model พบว่าสารสกัดจากข้าว ก่ำในชั้นไม่มีขั้วไม่มีผลยับยั้งแอลฟากลูโคชิเดส และให้ผลเล็กน้อยในปฏิกิริยาไกลเคชัน ส่วนสารสกัดชั้นน้ำ , 80% เอทานอล และ 80% เมทานอล์ มีผลในการยับยั้งเบาหวานและปฏิกิริยาไกลเคชันในเกณฑ์ดี ซึ่งควรมี การศึกษาต่อไป สำหรับฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสกัดไม่มีขั้วและมีขั้ว (80% เอทานอล) ต่อเซลล์ มาโครฟาจน์พบว่าสารสกัด มีผลทั้งกระตุ้น และ ยับยั้งการหลั่งในตริกออกไซต์ (NO) จากเซลล์มาโครฟาจน์ สำหรับแร่ธาตุที่พบในพันธุ์ข้าวกั๋ พบ M3, Ca, Mn, Zn, Fe และ Cu ปริมาณสูงและพบแร่ธาตุ ที่ทำหน้าที่ต้านอนุมูลอิสระ คือ Mo และไม่พบโสหะหนักที่ก่อให้เกิดความเป็นพิษแต่อย่างใต นอกจากนี้เมื่อ ทำการวิเคราะห์เส้นใยจากข้าวเปลือกข้าวพบเส้นใยทั้งเซลลูโสสและเฮมิเซลสูโลสในปริมาณสูง
บทคัดย่อ (EN): The development of separation process to produce high-value bioactive components from Lana purple rice was performed. Twenty species of black rice were collected from provinces in northern Thailand, including Kamphaeng Phet, Chiang Rai, Chiang Mai, Nan, Phayao and Lamphun. Among these species, 6 species were non- sticky rice varieties and the other 14 species were cultivated for sticky rice. After hexane extraction, all samples were extracted using water, 80% methanol and 80% ethanol as solvents. Total phenolic compounds and total anthocyanins were then measured by spectrophotometry. Furthermore, antioxidant activity was determined using DPPH, ABTS and lipid peroxidation methods. The results showed that certain species of black rice, which were sample nos. 6, 7, 9, 12, and 13, contained high amounts of total phenolics, anthocyanins and antioxidant compounds. Methanolic extracts of the specified samples contained higher amounts of total phenolics and total anthocyanins (up to 6,520 | g GAE/g rice and 6,931 | g /g rice respectively), when compared to their ethanolic and water extracts. High antioxidant activity was determined by DPPH and ABTS methods and were found in polar (methanolic, ethanolic and water-) extracts of sample nos. 7, 9, 11, 12, 13, 14, and 20. However, the monitoring of antioxidant activity by linoleic peroxidation method demonstrated diverse results for polar extracts of sample nos. 2, 4, 5, 10, 18, and 20, all of which displayed high antioxidant activity. Bioactive Y- oryzanol and vitamin E were determined in non-polar, hexane- black rice extracts. Sample nos. 5, 6, and 19 contained high amounts of y- oryzanol (932-1,610 mg/Kg rice) and sample nos. 2, 4, 6, and 19 contained high amounts of vitamin E (19.5-21.2 mg/Kg rice). The growthinhibition of pathogenic bacteria, particularly Bacillus subtilis, Escherichia coli, Salmonella typhimurium and Staphylococcus aureus were determined in polar and non-polar extracts of the black rice. Sample nos. 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 11, 12, 13, 14, 18, 19 and 20 were found to display an inhibitory effect on all of the tested bacteria but their activities depended on the extract concentration. Cytotoxicity of the 15 black rice ethanolic extracts (no.2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 18, 19 and 20) were determined and it was found that these extracts had no toxicity on the kidney cells of monkeys. Additionally, the rice extracts demonstrated no growth inhibition of oral, lung and skin cancer cells in the rats. This may be due to the fact that the specified extracts were non-purified crude extracts. Furthermore, the inhibitory activity of acetylcholinesterase for anti-Alzheimer screening was determined using 1 and 5 mg/ml extract concentrations. The results of the non-polar extracts showed no inhibitory effect on enzyme activity at 1 mg/ml, while 5 mg/ml of extracts revealed 0.86-16.9% inhibition. On the other hand, polar extracts including water, 80% ethanol and 80% methanol demonstrated less than 14% inhibition at 1 mg/ml concentration.The percentage of enzyme inhibition increased with an increase of the extract concentration to 5 me/ml. The maximal enzyme inhibitory effects were 17.9%, 21.9% and 35.4% for the water extract, 80% methanolic extract, and ethanolic extract, respectively. These experimental results suggest that partial purification of the extracts might improve their anti-Alzheimer properties. The inhibition of C-glucosidase and antiglycation by methylglyoxal scavenging, bovine serum albumin-methylglyoxal and bovine serum albumin - glucose model methods for anti diabetic properties, were investigated. The results showed that non-polar rice extract has no inhibitory effect on C-glucosidase and had a slight effect on antiglycation. In contrast, water extract, 80% ethanolic extract and 80% methanolic extract showed the capability to inhibit diabetes and the glycation reaction which should be further studied. For immuno-stimulatory effects in macrophage, non-polar and polar (80% ethanolic) extracts demonstrated the capability to stimulate and inhibit the secretion of NO from macrophage. High amounts of Ms, Ca, Mn, Zn, Fe and Cu were found in the indicated black rice, and Mo known as an antioxidative mineral was also found. There has been no report on heavy metals in black rice. Moreover, black rice husks contain high amounts of cellulose and hemicellulose.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
30 กันยายน 2556
การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม - การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม (ต่อเนื่องปีที่ 2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน การพัฒนากระบวนการต้นแบบในการทดสอบพันธุ์ข้าวลูกผสม การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม - การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม (ต่อเนื่องปีที่ 2) การวิจัยคุณลักษณะจาเพาะต่อการแปรรูปของข้าว 84 พันธุ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ- การใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ศึกษาวิถีการผลิตโปรตีนหลักในเมล็ดข้าวและการเตรียมเปปไทด์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดและรำข้าว ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก