สืบค้นงานวิจัย
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารปลานิลวัยอ่อน
สุรินทร บุญอนันธนสาร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารปลานิลวัยอ่อน
ชื่อเรื่อง (EN): A comparative study of enhancing the Utilization of Inulin from Kaentawan or Chicory roots as Prebiotics in Diet of Nile tilapia larvae
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุรินทร บุญอนันธนสาร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้ได้ทำการทล สอบการใช้อินูสินจากชิโครีและแก่นตะวันเป็นสารเสริมพรี ไข โอติกส์ในอาหารปลานิลในระยะการแปลงเพศปลา และการอนุบาลลุกปลานิลต่อจนถึงระยะวัยรุ่น การ ทดถองนี้มีกลุ่มทลลอง ร กลุ่ม (แต่ละกลุ่มทดลองมีชำนวนช้ำ 4 น้ำ) ประกอบไปด้วย กลุ่มทดลลงที่ เต้รับอาหารที่ไม่มีการเสริมพรีไบโซคิก (กลุ่มดวบคุม), งาหารที่มีก ารเสริมอินูลินที่ระดับ 2.5 และ ร ครัมต่อกิโถกรัมอาหาร และอาหารที่มีการเสริมแก่นตะวันที่ระตับ s และ เ0 กรัมต่อกิโลกรัมอาหาร การ อนุทาลถูกปลาบิลแปลงเพศทำโดยเลี้ยงถูกปลานีตวัยอ่อนในกระชังที่อยู่ในห่อคิน ด้วยอาหารตามกลุ่ม ทดลองที่มีการเสริมฮอร์โมน 17C-methylestosterone เป็นร ระยะเวทา 28 วัน ผลการทดลองพบว่าการ เสริมอินูดินไม่มีผลต่อการเจริญเต็บ โต อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (KCR) อัตราการอย จุลสัญฐาน ของล่ำไส้ และประชากรจุลินทรีย์ในลำไส้ปลา ถึงแม้ว่าการเสริมผงแก่นตะวันจะไม่มีผลต่อการ เริญเติบโต FCR อัตราการอด จุถสัณฐานของลำส้ เต่ทว่าการเสรีมผงแก่นตะวันส่งผลต่อการ เลี่ยนแปลงประชากรจุลืนหรี่ย์ในลำไส้ โดยที่การเสริมผงแก่นตะวันเพิ่มจุสินทรีย์ในกลุ่ม lactic acid hacteria และ Bifdobacteria แต่ลต Vtrio ชีสต์ และรา หลังจากการแปลงเพศปลา ถูกปลาได้นำมาเลี้ยง ด้วยอาหารทตลองต่ออีก 54 วันจนถึงระยะวัยรุ่น การเสริมอินูลินที่ระดับ s กรัมต่อกิโถกรัมอาหารและ การเสริมแก่นตะวันที่ระดับ ร และ 10 กรัมต่อกิโลกรัมกาหาร ส่งผลต่อการพัฒนาการเขริญเติบโตและ FCR พบว่าปลาทุกกลุ่มทคลองมีอัตราการรอดไม่เตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P:0.05) ลงค์ประกอบทางเคมีของตัวปลา ได้แก่ ค่าต มชื้นโปรตีน ไขมัน และเถ้ำาของปลาทุกกลุ่มทดลองมีค่า ใกล้เพียงกัน (P*0.05) การเสริมอิบูถิ่นและการเริมเก่นตะวันในอาหารทำให้ปลามีค่ จำนวนเม็ดเลือด แคงสูงขึ้น (Pะ0.05) แต่ไม่มีผลต่อค่าฮี โม โกถบินแตะท่าเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (P-0.05) ขากการวิเคราะห์ ค่าเตมีในเลือด 14 คำ พบว่การเสริมอินูสินและการเสริมแห่นตะวันทำให้คำโปรตีน แถะแมกนีเซียมใน เลือดสูงขึ้น(P:0.05) การเสริมผงแก่นตะวันทำให้เสีงดมีค่าแคลเซียมและเหล็กสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการ เสริมอินูสินและแก่นตะวันไม่มีผลต่อ กถูโดส คอเลสเตยรฮล ไครกลีเซอไรด์ อับูมิน ยูเรียในเกียด ต่าบิ ลิรูบิน ค่าศัชนีตับ SGOT และ SGPT และคลอไรด์ในเลือด (P> 0.05) การเสริมอินูสินและการเสริมแก่น ตะวันทำให้ปริมาณฮิมมูโนโกลบูสินรวม คำการทำงานของไสโซไซม์ และต่ alemnative complement hacmolytic 50 เพื่มสูงขึ้น (P0.05) การเสริมอินูดินและการเสริมแก่นตะวันทำให้ลำไส้มีวิตไถสูงขึ้น และมีจำนวน ซลล์โกเบล็ทสูงขึ้น (P:0.05)และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรจุสินทรีย์ในลำไสี ปลา การเสริมหรี ไบโอติกอินูดินและแก่นตะวันทำให้จำนวน Iactic acid bacteria แล: Bifdobacteria สูงขึ้น แต่มี vb๗o แตะ อีสต์และราลคลง จากผถการทคลองนี้สรุปใด้ว่าการเริมอินูดินในอาหารที่ ระดับ กรัมต่อกิโลกรัมอาหาร และการเสริมแก่นตะวันในอาหารที่ระคัา ร - 10 กรัมต่อกิโลกรัมอาหาร ส่งผลดีต่งการพัฒนาเจริญเดิบโต สุขภาพปลานิถ และเพิ่มจุสินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในลำไส้ปลานิล ใน การผลิตพันธุ์ปลาบิลจนถึงระยะวัยรุ่น
บทคัดย่อ (EN): This study cvaluated the prebiotic cffects of dietary inuiin from chicory root and Jcrasalcm urtichoke tubcr (JA) on Nile tilapia (Oreachronis niloticus) during sex reversal proeess und juvcnilc stage. Five dietary treatments (cach diet in four replicales) werc designed to incorporatc inulin at O (control), 2.5, and S g kg and JA al 5 and 10 g kg . During sex reversal pruess, fish larvae WeTe reared in cages which were located in earthen pond. Experimental diets which were incorporated with 170-mnethyltestosteron ne were fed to larvae For 28 wecks. Dietary inulin had no cffecis on growth, FCR, survival rate and intestinal villi height and microbiota. Although dietary JA had no efiect on growrh, FCR, surviyal rate and intestinal vili height, it altered intestinal microbiota. Dietary JA increased lactic acid bacteria and Bffidobacterin wherens it decreased Vibrio and yeast and fulsgi. In addition, dietary both prebiotic had no effects on sex reversal efficicncy. Afler sex reversal process, fish Jarvae w were continued to grow to reach juvenile stage for 54 days. Dietary inulin at 5 g kg and JA at 5 and 10 g kg improve growrh and FCR of juvenile fish. There were not significant differences jn survival ratcs among experimental dicts (P-0.05). The body chenical cnmposition including moistuse, protein, lipid and ash of fish in all groups uppeared to bc similar (P>0.05). Dictary inulin and JA jncreased red blond cell number (P*0).05), bul lhey had no efiects on hcmnglobin and hematoerit (P-O.05). Among the Fuurteen blood chernicals examined, distury inulin or JA led to increasc total prolein and magnesium in blood (P<0.05). Dictury JA incrcased blood calcium and irun (P:0.05). However, dietary neither inulin nor JA affected glucosc, cholesterul, triglyeeridc, albumnin, blood urea nitrogen, total bilirubin, serum glutamic oxaloacetic transaminase (SGOT), serum glulamic pyruvic transaminase (SGPT) and chloride (P=0.05). Dietary inulin or JA improved total immunoglobulin content, Lysozyme activity and altemative complement hacmolytic s0 (ACH50) activity (P=0.05). Dietary inulin or JA inereased the height of intestinal villi and goblet cell number (P<0.05). Inulin or JA suppicmentation modulated the population of intcstinal microbiota. Supplementation of either inulin or JA increused intestinal lactic acid bacteria and Bifidobacteria and decreasc Vibrio and yeast and fungi mumber. Taken togcther, dietary inulin or JA at 5 g kg had posiive efficcts on growth, bealth and intestinal bacteria in juvenile Nile tilapia production.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/284122
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารปลานิลวัยอ่อน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2556
เอกสารแนบ 1
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารแพะเนื้อ การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารแพะนม การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารสัตว์ การใช้แก่นตะวันเพื่อเป็นสารทดแทนยาปฏิชีวนะในอาหารโคนม การใช้กล้วยหอมทองสุกในสูตรอาหารเลี้ยงปลานิล ผลของการใช้สารเสริมในอาหารปลานิลที่มีต่อการเจริญเติบโตและสุขภาพ การเสริมอาหารธรรมชาติเพื่อเลี้ยงปลานิล การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของแก่นตะวัน การศึกษาประสิทธิภาพสารดูดซับสารพิษอะฟลาท็อกซินจากแหล่งดิน ในประเทศไทยในอาหารปลานิล การใช้ต้นและเปลือกข้าวโพดฝักอ่อนเป็นอาหารหลักในโคกำลังรีดนม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก