สืบค้นงานวิจัย
การใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกและหลังงอกในถั่วเหลือง
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกและหลังงอกในถั่วเหลือง
ชื่อเรื่อง (EN): Use of Preemergence and Postemergence Herbicide in Soybean
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พรชัย เหลืองอาภาพงศ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Pornchai Lueang-a-papong
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ไกรสร เคาไวยกุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Kaisorn Kaowaikul
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ทำการทดลองระหว่างเดือน กรกฎาคม-ตุลาคม 2538 เพื่อศึกษาผลการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก และหลังงอกที่มีต่อประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชและการให้ผลผลิตของถั่วเหลือง วิธีการทดลองทำการพ่นสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก ภายหลังปลูกถั่วเหลือง 1 วัน ส่วนสารกำจัดวัชพืชประเภทหลังงอกทำการพ่นภายหลังปลูกถั่วเหลือง 21 วัน โดยการใช้ถังพ่นแบบสะพายหลัง พร้อมหัวพ่นแบบ Flat fan ปริมาณน้ำ (Spray volume) 80 ลิตร/ไร่ พบว่าสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก alachlor alachlor (2-chloro 2,6-diethyl-N-(methyloxymethyl acetamide), metolachlor(2-chloro-N-(2-ehthyl-6-methylphenyl)-N-(2-methoxy-1-methylethyl)acetamide), oxyfluorfen (2-chloro-1-(3-ethyoxy-4-nitrophenoxy)-4-(trifluoromethyl bezene) และoxadiazon (3-(2,4-dichloro-5-(1methylethoxy)phenyl)-5-(1,1-dimethyl)-1,3,4-oxadiazol-2-(3H)-one) และประเภทงอกหลัง haloxyfop-methyl (2-(4-(3-chloro-5-(trifluoromethyl)-2-pyridinyl)-oxy) phenoxy propanic acid), fluazifop-butyl(+-2-(4((5(trifluoromethyl)-2-pyridinyl)oxy)phenoxy)-propanoic acid), quizalofop-p-tefuryl (R)-2-(4-(6-chloroquinoxalin-2-yloxy) propionic acid) และ propaquizafop (2-isopropylideneamino-oxyethyl (R)-2-(4-6-chloro-quinoxalin-2-yloxy)phenoxy) propionate) ผสมสาร fomesafen (5-(2-chloro-4-(trichloromethyl)phenoxy)-N-methysuthylphenoxy)-2-nitrobenzamide) จะมีประสิทธิภาพดีเยี่ยมในการควบคุมวัชพืชทั้งประเภทใบแคบตระกูลหญ้าและใบกว้างชนิดต่าง ๆ ซึ่งการใช้สารกำจัดวัชพืชแบบก่อนหรือหลังงอกเพื่อควบคุมวัชพืชในถั่วเหลืองนี้จะสามารถ เพิ่มผลผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพที่ไม่มีการใช้สารเคมี
บทคัดย่อ (EN): Field experiment was carried out from July through October 1995 to study the effect of preemergence and postemergence herbicide on weed control and soybean yield. The preemergence and postemergence herbicides were treated at I and 2I days after sowing respectively. All herbicide treatments were applied with knapsack sprayer using water carrier volume of 500 [/ha. Preemergence herbicide; (2-chloro 2,6-diethyl-N-(methyloxymethyl acetamide), metolachlor(2-chloro-N-(2-ehthyl-6-methylphenyl)-N-(2-methoxy-1-methylethyl)acetamide), oxyfluorfen (2-chloro-1-(3-ethyoxy-4-nitrophenoxy)-4-(trifluoromethyl bezene) และoxadiazon (3-(2,4-dichloro-5-(1methylethoxy)phenyl)-5-(1,1-dimethyl)-1,3,4-oxadiazol-2-(3H)-one) และประเภทงอกหลัง haloxyfop-methyl (2-(4-(3-chloro-5-(trifluoromethyl)-2-pyridinyl)-oxy) phenoxy propanic acid), fluazifop-butyl(+-2-(4((5(trifluoromethyl)-2-pyridinyl)oxy)phenoxy)-propanoic acid), quizalofop-p-tefuryl (R)-2-(4-(6-chloroquinoxalin-2-yloxy) propionic acid) และ propaquizafop (2-isopropylideneamino-oxyethyl (R)-2-(4-6-chloro-quinoxalin-2-yloxy)phenoxy) propionate) ผสมสาร fomesafen (5-(2-chloro-4-(trichloromethyl)phenoxy)-N-methysuthylphenoxy)-2-nitrobenzamide) showed excellent control of grass and broadleaf-weeds. The use of preemergence or postemergence herbicide for weed control in soybean increased yield significantly compared with control (non-treated).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2537
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2538
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247537/169332
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกและหลังงอกในถั่วเหลือง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2538
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ประสิทธิภาพของสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก Propisochlor ในหอมแดง การใช้สารกำจัดวัชพืช Quizalofop-p-tefuryl ด้วยเครื่องพ่นระบบน้ำน้อย CDA ในถั่วเหลืองที่ปลูกแบบไถและไม่ไถพรวน อัตราและเวลาการใช้สารกำจัดวัชพืช Quizalofop-p-tefuryl ในถั่วเหลืองหลังนาที่ปลูกแบบเผาและไม่เผาฟาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวจากน้ำนมถั่วเหลือง ประสิทธิภาพการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทหลังงอกในถั่วเหลืองแบบก่อนให้น้ำ 1 วัน การใช้สารเคมีควบคุมวัชพืชสาบเสือ (Chromolaena Odorata) การใช้ถั่วเหลืองเพื่อลดต้นทุนในการผลิตเป็ดปักกิ่ง ผลของสารสกัดหยาบจากไมยราบและหญ้าขนต่อการงอกและการเติบโตของต้อยติ่ง ผลของการใช้กากถั่วเหลืองหมักต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของปลานิล การป้องกันกำจัดโรครากและลำต้นเน่าของถั่วเหลืองโดยชีววิธี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก