สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตและรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลาดชัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความอย่างยั่งยืนของรายได้ในจังหวัดเพชรบูรณ์
อาจารย์สุพิชชา โชติกำจร - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตและรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลาดชัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความอย่างยั่งยืนของรายได้ในจังหวัดเพชรบูรณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อาจารย์สุพิชชา โชติกำจร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลาดชัน โดยใช้ Data Envelopment Analysis (DEA) และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด โดยใช้ Multiple Linear Regression เก็บรวบรวมข้อมูล จากเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอำเภอเขาค้อ จำนวน 93 ครัวเรือน โดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า ครัวเรือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลาดชันส่วนใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิตอยู่ในระดับน้อย และปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ของเกษตรกรจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ระดับการศึกษา สภาพพื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวโพด มูลค่าเครื่องมือการเกษตรทั้งหมดที่เกษตรกรมี ขนาดพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดของเกษตรกร และสินเชื่อจากแหล่งเงินกู้ทั้งใน และนอกระบบ รัฐบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ควรสนับสนุนให้มีการขยายโอกาสทางด้านศึกษาให้แก่เกษตรกรหรือสมาชิกในครัวเรือนของเกษตร เพื่อสร้างบุคลากรใหม่ๆ ทางด้านการทำเกษตร ทำให้เกษตรกรให้มีความรู้ ใช้ทรัพยากรการผลิตลง เพิ่มผลผลิต และทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง ส่งผลทำให้รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้น ก็จะสามารถช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ของเกษตรกรในชนบทได้มากยิ่งขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The purposes of this research are 1) to study the production efficiency of maize farmers by using data envelopment analysis (DEA) and 2) to study the factors affecting the income of maize farmers by using multiple linear regression. Data were collected using a questionnaire from 93 agricultural household. The results show that most of maize farmers have low production efficiency level. In term of factors affecting the income of maize farmers, the finding reveal that education level, cultivation area, value of all agricultural tools that farmers, mize area size, formal debts and informal debts. Government or various agencies should support the expansion of educational opportunities for farmers or members of agricultural households to create new personnel In agriculture Enabling farmers to have knowledge use production resources to increase productivity and reduce production costs resulting in increased income of farmers will be able to help reduce the inequality of farmers' income in rural areas more.
ชื่อแหล่งทุน: สนับสนุนการขอผลงานทางวิชาการ : มหสวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2562
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://research.pcru.ac.th/rdb/project/dataview/1734_%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B___%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C.html
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2562
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตและรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ลาดชัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความอย่างยั่งยืนของรายได้ในจังหวัดเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
2562
เอกสารแนบ 1
การอนุรักษ์ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อย่างยั่งยืน ศึกษาวิธีปลูกข้าวโพดฝักสดหลังการปลูกข้าวและผลตอบแทน ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด ทิศทางในการพัฒนาข้าวโพด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรตามโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดชุมชนจังหวัดพะเยา การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเพื่อเพิ่มคุณภาพโปรตีน การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์เปรี้ยวแดง (Begonia alicida C. B. Clarke) อย่างยั่งยืน ความสัมพันธุ์ของแมลงศัตรูข้าวโพดและแอฟลาท็อกซิน วันเก็บเกี่ยวข้าวโพดเทียนพันธุ์บ้านเกาะที่ให้คุณภาพฝักและเมล็ดพันธุ์สูงสุด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรตามโครงการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดชุมชนจังหวัดพะเยา
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก