สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงปลาหมอในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน
อำไพพรรณ ไกรสุรสีห์ - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงปลาหมอในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): CAGE CULTURE OF CLIMBING PERCH, Anabas testudineus (Bloch) ATDIFFERENT STOCKING DENSITIES
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อำไพพรรณ ไกรสุรสีห์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สุชาติ ไกรสุรสีห์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การทดลองเลี้ยงปลาหมอในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกน ั 5 ระดับ คือ 50, 200, 400, 600 และ 800 ตัวต่อลูกบาศกเมตร ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน ์ ้าจืดตรัง เป็ นเวลา 180 วัน ระหวางเดือนตุลาคม ่2544 ถึงเดือนเมษายน 2545 โดยใช้ปลาทดลองขนาดความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 5.71 + 0.03, 5.72 + 0.04, 5.69 +0.05, 5.70 + 0.03 และ 5.69 + 0.04 เซนติเมตร และน ้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 3.66 + 0.14, 3.67 + 0.27, 3.65 +0.21, 3.67 + 0.23 และ 3.64 + 0.14 กรัม ตามล าดับ เลี้ยงในกระชังขนาด 1 x 1 x 1.5 เมตร จ านวน 15 กระชังในอ่างเก็บน ้าขนาด 50 ไร่ ให้อาหารส าเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน ้าโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์วันละ 3 - 5 เปอร์เซ็นต์ ของน ้าหนักตัวปลาวันละ 2 ครั้ง เช้าและบ่าย โดยปรับอาหารทุกเดือน เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบวาปลามี ่ความยาวเฉลี่ย 15.71 +0.18, 15.56 +0.37, 14.90 +0.31, 14.38 +0.42 และ 13.95 +0.57 เซนติเมตร น ้าหนักเฉลี่ย 75.12 + 0.88, 70.60 + 1.49, 59.67 + 1.75, 49.28 + 1.76 และ 44.76 + 2.61 กรัม ตามล าดับโดยมีน ้าหนักเพิ่มต่อวันเท่ากบ ั 0.40 +0.01, 0.37 +0.01, 0.31 +0.01, 0.26 +0.01 และ 0.23 +0.01 กรัม/วัน อัตราการเจริญเติบโตจ าเพาะเท่ากบ ั 1.68 + 0.01, 1.64 + 0.03, 1.56 + 0.03, 1.45 + 0.02 และ 1.39 + 0.02เปอร์เซ็นต์/วัน อัตรารอดตายเฉลี่ยเท่ากบ ั 95.33 +2.31, 94.00 +1.80, 86.17 +1.13, 84.72 +1.49 และ 84.79+0.81 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็ นเนื้อเท่ากบ ั 1.89 +0.04, 1.93 +0.06, 2.26 +0.10, 2.46 +0.10 และ 2.59 + 0.24 ตามล าดับ โดยค่าการเจริญเติบโต อัตราการเจริญเติบโตจ าเพาะและอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็ นเนื้อของชุดการทดลองที่เลี้ยงด้วยความหนาแน่น 50 ตัว และ 200 ตัวต่อลูกบาศกเมตร ไม ์ ่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่ดีกวา่ ชุดการทดลองที่เลี้ยงด้วยความหนาแน่น 400, 600 และ 800 ตัวต่อลูกบาศกเมตร ์อยางมีนัยส าคัญทางสถิติ ่ (p<0.05) ส่วนต้นทุนการผลิตเท่ากบ ั 91.37, 51.99, 52.74, 54.71 และ 55.60 บาทต่อกิโลกรัม ตามล าดับ เมื่อพิจารณาด้านอัตราการเจริญเติบโต อัตรารอดตาย และต้นทุนการผลิตของการทดลองครั้งนี้แล้ว ที่ระดับความหนาแน่น 200 ตัวต่อลูกบาศกเมตร เป็ นระดับที่เหมาะสมที่สุด
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2548
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงปลาหมอในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2548
เอกสารแนบ 1
การทดลองเลี้ยงปลาหมอในปอซีเมนต์ การเลี้ยงปลาชะโอนในกระชังที่ความหนาแน่นแตกต่างกัน 2 ช่วงอายุ การเลี้ยงปลาเสือพ่นน้ำในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน การเสริมโปรไบโอติกและอีเอ็มในอาหารต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาหมอไทยที่เลี้ยงในกระชัง การเลี้ยงลูกปลาช่อนด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน การเลี้ยงปลานิลในกระชังด้วยระบบ LVHD (การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง) ผลของความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของการเลี้ยงปลาหมอไทยในกระชังในที่ดินพรุ จังหวัดนราธิวาส การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการเลี้ยงปลาหมอร่วมกับปลานิล การเลี้ยงปลาอีกงในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง การเลี้ยงปลาเทโพในกระชังที่ความหนาแน่นแตกต่างกัน 3 ระดับ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก