สืบค้นงานวิจัย
การเพิ่มมูลค่ากากรำข้าวจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันรำข้าวโดยการสกัดโปรตีนเข้มข้นโดยใช้เอนไซม์และการตกตะกอนด้วย Polysaccharides
สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน - สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ชื่อเรื่อง: การเพิ่มมูลค่ากากรำข้าวจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันรำข้าวโดยการสกัดโปรตีนเข้มข้นโดยใช้เอนไซม์และการตกตะกอนด้วย Polysaccharides
ชื่อเรื่อง (EN): Value added of industrial wasted (defatted rice bran) by extraction of protein isolate using enzymes and polysaccharides
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ทิพวรรณ ทองสุข
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดโปรตีนจากรำข้าวด้วยวิธีทางเอนไซม์ และตกตะกอนด้วยสารโพสี แซคคาไรด์กลุ่ม alginate แล:carrageenan เทียบกับวิธีตั้งเดิม คือ สกัดโดยใช้ alkaline และตกตะกอน โดยกรด จากนั้น เปรียบเทียบปริมาณผลผสิต ปริมาณโปรตีน และสมบัติทางหน้าที่ของโปรตีนเข้มชันจาก รำข้าวที่สกัดได้ และคัดเลือกวิธีการเตรียมปรตีนจากรำข้าวเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร ผลการศึกษา พบว่า การสกัดโดยเอนไซม์ Alcalase 2% (v/w) อุณหภูมิ 500C pH 9.:5 ให้ปริมาณโปรตีนในสารละลายที่สกัดได้ และผลผลิตสูงที่สุด (2.4496 และ 32.909 ตามลำดับ) และเมื่อตกตะกอนเป็นผงโปรตีนเข้มข้นจากรำข้าว ด้วยอัลจิเนต (โปรตีน: อัลจิเนต: 1: 0.006) ให้ปริมาณโปรตีน 27.55 /100g และร้อยละผลผลิต 6.62 ด้านสมบัติทางหน้าที่ พบว่ ตัวอย่างที่ได้จากการสกัดด้วยเอนไซม์ให้คำกำลังเกิดอิมัลชั่นและความเสถียร อิมัลชั่นสูงกว่า ขณะที่มีให้คำกำลังเกิดฟองและความเสถียรของฟองต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่ สกัดโดยด่าง ด้านการประยุกตีใช้ในคุกกี้ ยังประสบปัญหาด้านกลิ่นและสีด้านลบที่มีต่อผสิตภัณฑ์อาหาร จึง ควรมีการพัฒนาและศึกษาต่อยอดต่อไปอย่างไรก็ตามการใช้กากรำที่ผ่านการสกัดน้ำมันจากโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีโปรตีนเริ่มต้นประมาณ 14% และนำมาสกัดเป็นโปรตีนเข้มข้นที่มีโปรตีนเพิ่มชื้นเป็น 2 เท่า สามารถนำมาใช้เป็นส่วนผสมของอาหารเพื่อสุขภาพ (neutraceutical food ingredient) และ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการใช้ประโยชน์ของโปรตีนจากรำข้าวในการใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ อาหารชนิดต่าง ๆ ต่อไป และยังเป็นการเพิ่มมูลคำของกากรำข้าวที่ได้จากการสกัดน้ำมันรำข้าวในโรงงาน อุตสาหกรรมด้วย
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to evaluate effects of extraction of protein from defatted rice bran using enzyme and precipitated with polysaccharides compared to preparation using a convention method (alkaline and acid). The obtained rice bran protein concentrates were then analyzed for protein content, percent yield, functional property, and application in food product. The results showed that extraction using Alcalase 2% (v/w) at 50 C, pH 9.5 yielded the highest protein content (2.44%) in solution and the highest yield (32.90%). To prepare a powder form, precipitating agent using alginate (protein: alginate 1: 0.006) gave the protein concentrate power with the highest protein content and yield (27.55% and 6.62%, respectively). For functional property, it was found that protein concentrate prepared by enzyme extraction showed the higher emulsion capacity and stability, while lower foaming capacity and stability compared to those prepared by a conventional method. For application in food product, the color and odor interference from adding to cookies was still a problematic. The research should then be further conducted. However, the double content of protein in obtained extract was beneficial for value added of defatted rice bran which is a by-product of rice bran oil production factory.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-06-26
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-06-25
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพิ่มมูลค่ากากรำข้าวจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันรำข้าวโดยการสกัดโปรตีนเข้มข้นโดยใช้เอนไซม์และการตกตะกอนด้วย Polysaccharides
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
25 มิถุนายน 2556
การเพิ่มมูลค่ากากรำข้าวจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันรำข้าวโดยการสกัดโปรตีนเข้มข้นโดยใช้เอนไซม์และการตกตะกอนด้วย polysaccharides การเพิ่มมูลค่ากากรำข้าวจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันรำข้าวโดยการสกัดโปรตีนเข้มข้นโดยใช้เอนไซม์และการตกตะกอนด้วย polysaccharides แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การสกัดและศึกษาคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนเข้มข้นจากรำข้าว การพัฒนากระบวนการต้นแบบในการทดสอบพันธุ์ข้าวลูกผสม การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การพัฒนาวัสดุย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากกากรำสกัดน้ำมันเพื่อใช้ทางการเกษตร การผลิตครีมเทียมผงจากน้ำมันรำข้าวระดับอุตสาหกรรม การใช้ประโยชน์กากรำข้าวจากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตน้ำมันรำข้าวเพื่อเป็นอาหารมนุษย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก