สืบค้นงานวิจัย
การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 1)
ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 1)
ชื่อเรื่อง (EN): Application of chitosan on the control of plant disease pathogen on Seeds (Phase 1)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): SONGSIN PHOTCHANACHAI
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เชื้อราสาเหตุโรคพืชดำรงชีวิตอยู่ได้ทั้งในเนื้อเชื่อพืช มล็ดและวัสดุปลูก ซึ่งสามารถเข้า ทำลายพืชที่เพาะปลูกในฤดูถัดไป การศึกษาบนอาหารเลี้ยงเชื้อในเบื้องตันนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประชุกต์ใช้ไค โตซานเพื่อทดแทนการใช้สารเคมื ในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืช 4 ชนิด ผลการ ทคลองในอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA (Potato Dextrose Agar) (ชุคควบคุม 1) และอาหาร PDA ที่มีกรค อะซิติก เข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ (ชุดควบคุม 2) และอาหาร PDA ที่ผสมไคโตซาน ความเข้มข้น 0.2 0.4 0.6 และ 0.8 เปอร์เซ็นต์ (pH 5.6) พบว่า ไค โตซานสามารถชะลอการเจริญเดิบโตของเส้นใยของเชื้อรา A. Brassicicola, F. Oxsporum, R. Solani และ Pythium sp. ได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับชุด ควบคุมทั้ง 2 ชุด และประสิทธิกาพของการชะลอการเจริญเดิบโตของเชื้อราเพิ่มขึ้น เมื่อความเข้มข้น ของไค โตซานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ไคโตซานสามารถชะลอการเจริญเติบโตของเส้นใเชื้อรา R. solani และ Pythium sp. ได้ดีกว่า 4. brassicicola และ F. Orsporun อย่างไรก็ตาม อาหาร PDA ที่มี ไคโตซานเข้มข้น 0.8 เปอร์เซ็นด์ สามารถชะลอการงอกของสปอร์เชื้อรา 4. brassicicola และ E. Oxsporun ได้ดีที่สุด จากผลการทคลอง สรุปได้ว่า ไคโตซานความเข้มข้น 0.8 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมการเจริญเดิบโดของเชื้อราสาเหตุโรคพืชทั้ง 4 ชนิด ขณะนี้การ ประยุกต์ใช้ไคโตซานในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ผักกำลังอยู่ในระหว่างการศึกษา
บทคัดย่อ (EN): Plant disease pathogens are able to survive in plant tissue, seeds, and growth substrate, and will potentially infect cultivated plants in the next season. This preliminary in in vitro study applied chitosan as an alternative to fungicide for controlling four fungal pathogens. PDA (Potato Dextrose Agar) (control 1) and PDA incorporated with 0.5% acetic acid (control 2) and PDA with chitosan 0.2,0.4, 0.6, and 0.8% at pH 5.6 were used in this study. Results showed that chitosan significantly delayed the mycelial growth of A. brassicicola, F. Oxysporum, R. Solani, and Pythium sp. as compared to the control medium. The inhibitory efiect increased with increased chitosan concentration. Chitosan more effectively delayed mycelial gowth of R. solani and Pythium sp. when compared to A. brassicicola and F. Orysporum. The medium amended with 0.8% chitosan showed the greatest ability in suppressing the germination of A. brassicicola and F. Oxysporum. Our results indicated that chitosan at a concentration of 0.8% was the most efiective at controlling those four pathogens. Chitosan application in vegetable seeds is being studied in our laboratory.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 448,400.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2554
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 1)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2555
การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 2) ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตของปลาหมอ ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโต การฟื้นตัวจากการขาดน้ำและการเพิ่มผลผลิตของข้าวนาน้ำฝน 5 พันธุ์ แบบจำลองการเจริญเติบโตของพืช: ทางเลือกใหม่เพื่อช่วยงานวิจัย แบบดั้งเดิม ผลของการเก็บรักษาไรแดงต่อการเจริญเติบโตของปลา อิทธิพลของสาร paclobutazol ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตมันสำปะหลัง การตอบสนองของพันธุ์ถั่วเขียวต่อการให้น้ำต่างระดับ : การเจริญเติบโตของต้น ความต้องการโปรตีนและพลังงานเพื่อการดำรงชีพและเจริญเติบโตของโคพื้นเมืองไทย 1.ระยะเจริญเติบโตน้ำหนัก 100 – 150 กิโลกรัม ผลการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตข้าว การศึกษาการเจริญโตเติบของต้นลำพูป่า

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก