สืบค้นงานวิจัย
การเพิ่มศักยภาพการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคและการส่งออก (1.การปรับปรุงพันธุกรรมสุกรของกรมปศุสัตว์ โดยการทดสอบพันธุ์และกระจายพันธุ์ดีสู่ฟาร์มสุกรของเกษตรกร)
จิรพรรณ นพวงศ์ ณ อยุธยา - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การเพิ่มศักยภาพการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคและการส่งออก (1.การปรับปรุงพันธุกรรมสุกรของกรมปศุสัตว์ โดยการทดสอบพันธุ์และกระจายพันธุ์ดีสู่ฟาร์มสุกรของเกษตรกร)
ชื่อเรื่อง (EN): Distribution of Department of Livestock Development Tested Boar to Swine Network Farmers
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จิรพรรณ นพวงศ์ ณ อยุธยา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการศึกษาสมรรถภาพการผลิตสุกรเพศผู้เพื่อกระจายพันธุ์ดีสู่ฟาร์มเกษตรกร จำนวน 1,174 ตัว เป็นสุกรสายแม่พันธุ์ 394 ตัว และสุกรสายพ่อพันธุ์ 780 ตัว พบว่าสุกรเพศผู้สายแม่พันธุ์มีอัตราการเจริญเติบโต (ADG) ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร (FCR) อายุจากเกิดถึง 90 กิโลกรัม (AGE90) แตกต่างกับสุกรเพศผู้สายพ่อพันธุ์ (P0.05) เมื่อเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะระหว่างพันธุ์แลนด์เรซและลาร์จไวท์มีค่าเฉลี่ยที่ไม่แตกต่างกัน โดย L1, L2, L3, W, H มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 106.20+0.41, 105.29+0.39, 86.87+0.41, 86.80+0.39, 44.17+0.45, 45.02+0.43, 97.33+0.30, 98.06+0.28, 61.96+0.28, 62.42+0.27 เซนติเมตร ตามลำดับ นอกจากนี้ สุกรสายพ่อพันธุ์ ได้แก่พันธุ์ดูร็อค เปียแตรง ปากช่อง 2 ปากช่อง 3 และปากช่อง 5 พบว่าสมรรถภาพการเจริญเติบโตทุกลักษณะมีความแตกต่างกันในทางสถิติ (P<0.01) โดย ADG FCR AGE90 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 856.93+7.59, 770.57+12.05, 798.61+8.71, 815.70+15.24, 852.44+7.43, 2.43+0.01, 2.66+0.03, 2.52+0.02, 2.54+0.03, 2.44+0.01, 161.22+0.86, 168.91+1.37, 164.94+0.99, 165.73+1.74 และ 160.76+0.85 ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this study were to performance of tested sire to farmer about 1,174 heads, include dam-line’s 394 heads and sire-line’s 780 heads. The characteristics of the study include average daily gain (ADG) feed conversion ratio (FCR) age at birth to 90 kg (AGE90) in dam-line highly significance difference on each traits (P0.05). Traits of shape between Landrance and Largewhite are not difference by L1, L2, L3, W, H averges 106.20+0.41, 105.29+0.39, 86.87+0.41, 86.80+0.39, 44.17+0.45, 45.02+0.43, 97.33+0.30, 98.06+0.28, 61.96+0.28, 62.42+0.27 cm, respectively. Other than sire-line, Duroc, Pakchong2, Pakchong3 and Pakchong5 have growth performance significance difference (P<0.01), whereas ADG FCR AGE90 have average 856.93+7.59, 770.57+12.05, 798.61+8.71, 815.70+15.24, 852.44+7.43, 2.43+0.01, 2.66+0.03, 2.52+0.02, 2.54+0.03, 2.44+0.01, 161.22+0.86, 168.91+1.37, 164.94+0.99, 165.73+1.74 and 160.76+0.85, respectively.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพิ่มศักยภาพการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคและการส่งออก (1.การปรับปรุงพันธุกรรมสุกรของกรมปศุสัตว์ โดยการทดสอบพันธุ์และกระจายพันธุ์ดีสู่ฟาร์มสุกรของเกษตรกร)
กรมปศุสัตว์
30 กันยายน 2551
กรมปศุสัตว์
การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การสร้างสุกรพันธุ์แลนด์เรซของกรมปศุสัตว์ ศักยภาพการผลิตปลาสวยงามเพื่อการส่งออกในจังหวัดราชบุรี การปรับปรุงพันธุกรรมสุกรของกรมปศุสัตว์โดยการทดสอบพันธุ์และกระจายพันธุ์ดีสู่ฟาร์มเกษตรกร การปรับปรุงพันธุกรรมสุกรโดยการสร้างพันธุ์สุกรฝูงยอดเยี่ยมเพื่อใช้เป็นพ่อพันธุ์สุดท้ายในการผลิตสุกรขุน แนวทางการปรับปรุงพันธุ์เพื่อส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ของสุกร ในประเทศไทย การทดสอบพันธุ์ผักที่มีศักยภาพก่อนนำไปส่งเสริม การทดสอบพันธุ์ผักที่มีศักยภาพก่อนนำไปส่งเสริม การผลิตและกระจายพันธุ์ยางตามคำแนะนำพันธุ์ยางปี 2542 การคัดเลือกผลมะม่วงแก้วเพื่อการส่งออกและการแปรรูป

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก