สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย
ปิยะโชค สินอนันต์, สุวรรณทนา ทศพรพิทักษ์กุล, นันทชัย บุญจร, ปวโรจน์ นรนาถตระกูล - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Neritic Tunas Resource Status and Fisheries in the Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาสภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ%าวไทย โดยเก็บรวบรวมจากเครื่องมือ เครื่องมือหลักที่ใช6ทําการประมงปลาโอ ได6แก% อวนล6อมโซนาร อวนล6อมป+,นไฟ อวนล6อมซั้ง และอวนล6อมจับ ปลาโอ บริเวณท%าเทียบเรือในเขตจังหวัดชายฝ+,งอ%าวไทย ระหว%างเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2555 พบว%า อัตราการจับเฉลี่ยของปลาโอลาย (Euthynnus affinis) จากอวนล6อมโซนาร อวนล6อมป+,นไฟ อวนล6อมซั้ง และ อวนล6อมจับปลาโอ เท%ากับ 274.24 111.72 209.89 และ 305.27 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ อัตราการจับเฉลี่ย ของปลาโอแกลบ (Auxis thazard) มีค%าเท%ากับ 94.44 110.38 162.85 และ 231.39 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ และอัตราการจับเฉลี่ยของปลาโอดํา (Thunnus tonggol) มีค%าเท%ากับ 221.57 18.93 41.09 และ 935.25 กิโลกรัม/วัน ตามลําดับ การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาโอลาย พบว%ามีความยาวอยู%ในช%วง 10.00-60.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) และสัมประสิทธิ์การตายโดย การประมง (F) เท%ากับ 6.7007 1.2735 และ 5.4272 ต%อปN ตามลําดับ จํานวนที่เข6ามาทดแทนในเหล%งประมง เท%ากับ 42.50076x106 ตัว มีศักย การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) เท%ากับ 11,046 ตัน และมูลค%าสูงสุดที่ยั่งยืน (MEY) เท%ากับ 538.71 ล6านบาท ปลาโอแกลบมีการแพร%กระจายความยาวอยู%ในช%วง 10.00-48.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม สัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติและสัมประสิทธิ์การตายโดยการประมงเท%ากับ 6.6589 1.4025 และ 5.2564 ต%อปN ตามลําดับ จํานวนที่เข6ามาทดแทนในเหล%งประมงเท%ากับ 44.745x106 ตัว ศักย การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนเท%ากับ 5,389 ตัน และมูลค%าสูงสุดที่ยั่งยืน 220.84 ล6านบาท ปลาโอดํามีการ แพร%กระจายความยาวอยู%ในช%วง 10.00-55.00 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์การตายรวม สัมประสิทธิ์การตายโดย ธรรมชาติและสัมประสิทธิ์การตายโดยการประมงเท%ากับ 5.6412 1.2042 และ 4.4370 ต%อปN ตามลําดับ จํานวนที่เข6ามาทดแทนในเหล%งประมงเท%ากับ 29.0761x106 ตัว ศักย การผลิตสูงสุดที่ยั่งยืนเท%ากับ 9,261 ตัน และมูลค%าสูงสุดที่ยั่งยืนเท%ากับ 534.43 ล6านบาท ตามลําดับ
บทคัดย่อ (EN): Study on Neritic tunas status and fisheries in the Gulf of Thailand was studied by collecting data from mainly fishing gear : Thai purse seine (TPS), light luring purse seine (LPS) and purse seine with fish aggregating devices (FADs) and Tuna purse seine (TUN), from January to December 2012. Kawakawa (Euthynnus affinis), averate catch per unit of effort from Thai purse seine (TPS), light luring purse seine (LPS) and purse seine with fish aggregating devices (FADs) and Tuna purse seine (TUN) were 274.24 111.72 209.89 and 305.27 kg/day, respectively. Frigate tuna (Auxis thazard) averate catch per unit of effort from 4 gears were 94.44 110.38 162.85 and 231.38 kg/day, respectively. Longtail (Thunnus tonggol) averate catch per unit of effort from 4 gears were 221.57 18.93 41.09 and 935.25 kg/day, respectively. Kawakawa size distribution was 10.00-60.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 6.7007 1.2735 and 5.4272 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 42.50076x106 fish. The maximum sustainable yield (MSY) was 11,046 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 538.71 million baht. Frigate tuna size distribution was 10.00-48.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 6.6589 1.4025 and 5.2564 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 44.745x106 fish. The maximum sustainable yield (MSY) was 5,389 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 220.84 million baht. Longtail tuna size distribution was 10.00-55.00 cm. Total mortality coefficient (Z), natural mortality coefficient (M) and fishing mortality coefficient (F) were 5.6412 1.2042 and 4.4370 per year, respectively. Number of recruitment in fishing ground was 29.0761x106 fish. The maximum sustainable yield (MSY) was 9,261 metrictons and the maximum sustainable economic yield (MEY) was 534.43 million baht.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2556
กรมประมง
ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน แหล่งและฤดูทำการประมงของการประมงพาณิชย์บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย การกำหนดพื้นที่ทำการประมงทะเลให้เหมาะสมกับเครื่องมือประมงและฤดูกาลบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก สภาวะการประมงอวนล้อมจับประกอบแสงไฟตามระยะห่างฝั่ง บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากการประมงพื้นบ้านจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลกระทบของการประมงลอบหมึกสายบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง การเปลี่ยนแปลงสภาวะทรัพยากรประมงบริเวณอ่าวไทยตอนใน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก