สืบค้นงานวิจัย
ผลเหง้ากระชายดำที่มีสีเนื้อในเหง้าแตกต่างกันต่อฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้า
เสริมสกุล พจนการุณ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลเหง้ากระชายดำที่มีสีเนื้อในเหง้าแตกต่างกันต่อฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้า
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Different Internal Skin Color of ùKrachai-Damû (Kaempferia parviflora) Rhizomes on Adaptogenic Activity
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เสริมสกุล พจนการุณ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Sermsakul Pojanagaroon
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ไชยยง รุจจนเวท
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Chaiyong Rujjanawate
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ใช้เหง้ากระชายดำที่มีความเข้มของสีเนื้อแตกต่างกัน 4 ระดับซึ่งได้จากการแบ่งกลุ่มตามค่สีในระบบ a*L *1* ด้วย วิธี unweighted pair group method cluster analysis (UPGMA) จากแหล่งปลูกการค้าในจังหวัดเลย (สายพันธุ์ 'บ่อเหมืองน้อย-2) พิษณุโลก (สายพันธุ์ 'ร่มเกล้า' และ 'น้ำจวง') และเพชรบูรณ์ (สายพันธุ์ 'เช็กน้อย') เปรียบเทียบ ฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้าโดยวิธีการบังกับให้หนูถีบจักรว่ายน้ำ พบว่า การให้สารสกัดเอทานอลของเหง้ากระชายดำ 4 สายพันธุ์ต่อเนื่องกันเป็นเวล1 28 วัน แก่หนูถีบจักร สามารถแสดงฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้โดยทำให้เวลาที่หนูเคลื่อนไหว ในน้ำยาวนานขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำกัญ (P S 0.01) แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำกัญระหว่างสายพันธุ์ กระชายคำที่ศึกษา ขณะที่การให้สารสกัดที่ความเข้มข้นต่ำ (125 และ 250 mg/kg) แก่หนูถีบจักรไม่แสดงฤทธิ์ด้าน ความเหนื่อยถ้าแต่อย่างใด ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า เหง้ากระชายดำทุกสายพันธุ์สามารถแสดงฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้ ซึ่ง เป็นเกณฑ์สำคัญในการบริโภคผลิตภัณฑ์กระชายดำของผู้บริโภค
บทคัดย่อ (EN): Rhizomes of Kaempferia parviflora with four different intensity of internal color as grouped by the a*L*b*system according to the unweighted pair group method cluster analysis (UPGMA) were collected from production areas in Loei (cv. Bohmuangnoi #2), Phitsanulok (cvs. Romklao and Namjuang) and Phetchabun (cv. Khegnoi # 2) provinces. The ethanolic extracts of four cultivars of K. parviflora were evaluated for their adaptogenic activity using stress model in mice : force swimming test. It was found that oral administration of all K. parviflora extracts at concentration of 500 mg/kg in the period of 28 days significantly exhibited prolonged effect on the active swimming period (P < 0.01) but these were no significant difference among all studied cultivars. However, The lower dosages of extracts than 500 mg/kg (125 and 250 mg/kg) exhibited no effect. Therefore, all cultivars of K. parviflora cultivars were shown an adaptogenic activity, which important criterion for consuming K. parviflora productions of the consumers.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2548
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2549
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=286-296.pdf&id=86&keeptrack=65
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลเหง้ากระชายดำที่มีสีเนื้อในเหง้าแตกต่างกันต่อฤทธิ์ต้านความเหนื่อยล้า
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2549
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
รวบรวม ศึกษาและคัดเลือกพันธุ์กระชายดำ: องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากเหง้ากระชายดำ ศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อม การเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาวัตถุดิบเหง้าที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพด้านประสาทสัมผัสของไวน์น้ำผึ้งกระชายดำ ระดับความสูงของพื้นที่ ที่มีผลต่อผลผลิต และคุณภาพของกระชายดำจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและหัวพันธุ์ลำดับต่างๆ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดำผงสำเร็จรูปพร้อมดื่ม ผลของ BA ที่มีต่อการเพิ่มจำนวนต้นกระชายดำในสภาพปลอดเชื้อ การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ การศึกษาฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด A549 ของสารสกัดเอทานอลของเถาตดหมา เพื่อเพิ่มมูลค่าทางยาของพืชสมุนไพรไทย ฤทธิ์ไล่ด้วงงวงข้าวของน้ำมันหอมระเหยจากเหง้าข่าและเปลือกส้มโอ ผลของการแช่เยือกแข็งต่อคุณภาพของเนื้อมะม่วงสุก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก