สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลโคกสะอาด อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
คุณวศัน สดศรี - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลโคกสะอาด อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
ชื่อเรื่อง (EN): Study of soil distribution problems in the irrigation area of Chaiyaphum Province. Using Geographic Information System. Case Study: Khok Saad Subdistrict Area. Nong Bua Rawe District Chaiyaphum Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: คุณวศัน สดศรี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Wasan Sodsri
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: คุณวศัน สดศรี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Wasan Sodsri
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: P ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (Natural resources)
บทคัดย่อ: โครงการการศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา: พื้นที่ตำบลโคกสะอาด อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรุนแรงการกระจายตัวของดินในพื้นที่รับประโยชน์ อ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชร และประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการประเมินดินกระจายตัว โดยวางแผนและกำหนดจุดเก็บตัวอย่างดินระดับการสำรวจและจำแนกดินแบบการสำรวจดินค่อนข้างหยาบ(Detailed Reconnaissance Survey) โดยเก็บจุดละ 2 ระดับความลึก ได้แก่ 1.00 เมตร และ 2.00 เมตร จากนั้นนำมาทดสอบการกระจายตัวของดิน และนำค่าร้อยละการกระจายตัวของดิน (Degree of Dispersion) มาใช้ในการประเมินระดับการกระจายตัวของดินในพื้นที่โครงการ ฯ ด้วยวิธีการแทรกค่า(Interpolation Methods) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และดำเนินการทดสอบร้อยละความคลาดเคลื่อนทางสถิติร่วมด้วย เพื่อหาค่าร้อยละความคลาดเคลื่อนจากข้อมูลที่ได้จากการแทรกค่าจำนวน 10 รูปแบบ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบที่มีความคลาดเคลื่อนทางสถิติต่ำสุด ได้แก่ รูปแบบที่ใช้ค่ายกกำลัง 2 และจำนวนจุดข้างเคียง 34 จุด การกระจายตัวของดินในพื้นที่รับประโยชน์ท้ายอ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชร ณ ระดับความลึก 1.00 เมตร พื้นที่ศึกษาที่มีค่าร้อยละการกระจายตัวของดินสูงเกินร้อยละ 60 จะอยู่บริเวณทิศตะวันออก ตอนกลาง และทิศตะวันตกของพื้นที่ ระดับความลึก 2.00 เมตรพื้นที่บริเวณ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกมีค่าร้อยละการกระจายตัวของดินร้อยละ 80 การกระจายตัวของดินในพื้นที่รับประโยชน์เหนืออ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชรพบว่า พื้นที่รับประโยชน์เหนืออ่างเก็บน้ำโปร่งขุนเพชรที่ระดับความลึก 1.00 เมตร มีค่าร้อยละการกระจายตัวของดินร้อยละ 60 อยู่บริเวณด้านทิศใต้ของพื้นที่ ส่วนบริเวณอื่น ๆ จะมีค่าร้อยละการกระจายตัวไม่เกินร้อยละ 40 และที่ระดับความลึก 2.00 เมตร มีร้อยละการกระจายตัวไม่เกินร้อยละ 40
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: กรมชลประทาน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ. 36/2559
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 5990009
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 700,000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: https://drive.google.com/file/d/1ROVGMzwMqeXGHUa7jPh5t267rFj2S7gd/view?usp=share_link
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: เขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิ
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: พ.ศ.2558-2559
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2559
เผยแพร่โดย: สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ (กรมชลประทาน) (rada_ru@rid.go.th) on 2018-04-23T04:43:47Z No. of bitstreams: 1 การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิ.pdf: 534348 bytes, checksum: c83b7c885025c011afd34273742fcb7a (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดชัยภูมิ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลโคกสะอาด อำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
2559
เอกสารแนบ 1
กรมชลประทาน
การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทาน จังหวัดสระแก้ว โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา: พื้นที่ตำบลแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดสระแก้วโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา : พื้นที่ตำบลแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ความเสียหายจากดินกระจายตัวด้านชลประทาน และการสังเกตดินกระจายตัว การศึกษาปัญหาการกระจายตัวของดินในเขตชลประทานจังหวัดสระแก้ว โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว การแก้ปัญหาดินกระจายตัวบริเวณคลองส่งน้ำชลประทานโดยการใช้ปูนขาวและสารส้มน้ำ การจัดทำแผนที่ดินกระจายตัวโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา: โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยรู อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลงิม อำเภอปง จังหวัดพะเยา การวิเคราะห์ปัญหาการใช้น้ำในพื้นที่โครงการชลประทานป่าสักใต้ การบริหารจัดการคุณภาพน้ำชลประทานเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทานให้มีศักยภาพสูงในการให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้ระบบโทรมาตร: กรณีศึกษาที่ II การติดตามประเมินผลระบบบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน ฟาร์มเลี้ยงสุกรและอุตสาหก การบริหารจัดการคุณภาพน้ำชลประทานเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทานให้มีศักยภาพสูงในการให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยใช้ระบบโทรมาตร: กรณีศึกษาที่ II การติดตามประเมินผลระบบบำบัดน้ำทิ้งจากชุมชน ฟาร์มเลี้ยงสุกรและอุตสาหก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก