สืบค้นงานวิจัย
ลักษณะทางการเกษตรและปริมาณแอนโทไซยานินในประชากรลูกผสมกลับ (BC2F2) ของข้าวเหนียวดำ
เจษฎากร หลวงมณี - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ลักษณะทางการเกษตรและปริมาณแอนโทไซยานินในประชากรลูกผสมกลับ (BC2F2) ของข้าวเหนียวดำ
ชื่อเรื่อง (EN): Agronomic traits and anthocyanin contents of BC2F2 of black glutinous rice
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เจษฎากร หลวงมณี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Jetsadakorn Luangmanee
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ปรเมศ บรรเทิง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Poramate Banterng
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ปัจจุบันข้าวเหนียวดำเป็นที่นิยมในการบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้มีสารแอนโทไซยานิน ที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูล อิสระ แต่พันธุ์ข้าวเหนียวดำที่ใช้ปลูกยังคงมีผลผลิตต่ำ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์ สารแอนโทไซยานิน (anthocyanin) สู่ข้าวเหนียวสายพันธุ์ RGDU04285-3-3 โดยวิธีการผสมกลับ โดยทำการปลูกเพื่อ สร้างลูกผสมกลับระหว่างข้าวเหนียวดำพันธุ์เหนียวดำ Gs.no. 00621 (พันธุ์ให้) และ RGDU04285-3-3 (สายพันธุ์รับ) ณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2555-2558 และปลูกประชากรลูกผสมกลับ (BC F ณ ศูนย์วิจัยข้าว ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นในฤดูนาปี 2558 เพื่อประเมินจำนวนรวง/กอ น้ำหนักเมล็ดต้น และปริมาณแอนโทไซยานิน ผลการทดลองพบว่า ผลผลิตของพันธุ์แม่ RGDU04285-3-3 เท่ากับ 27.17 กรัม/ต้น ลูกผสมสายพันธุ์ที่มีสาร แอนโทไซนายินในเยื่อหุ้มเมล็ด และมีผลผลิตสูงกว่า ได้แก่ 01-2-2 (41.15 กรัม/ต้น), 01-2-21 (35.75 กรัม/ต้น), 01-03-68 (35.54 กรัม/ต้น), 01-2-102 (31.16 กรัม/ต้น), 01-2-20 (29.70 กรัม/ต้น), 01-2-98 (28. 80 กรัม/ต้น) และ 01-2-50 (28.05 กรัม/ต้น) ซึ่งจะถูกนำไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าว ต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Presently, black glutinous rice has been increasingly consumed since it has anthocyanin which is antioxidant. However, the rice varieties planted are still low productivity. The objective of this study was to do introgression for gene controlling anthocyanin synthesis to RGDU04285-3-3 by using backcrossing. Rice cultivar Niawdam Gs.no. 00621 (donor parent) and RGDU04285-3-3 (recipient parent) were grown at Faculty of Agriculture, Khon Kaen University during 2012-2015 to do backcrossing. The BC2F2 progenies were grown at Rice Research Center, Khon Kaen in 2015 to evaluate the panicle number/hill seed weight/plant and anthocyanin contents. The result indicated that yield for RGDU04285-3-3 (Female parent) was 27.17 g/plant. There were the progenies which has higher yield and anthocyanin contents than Female parent such as 01-2-2 (41.15 g/plant), 01-2-21 (35.75 g/plant), 01-03-68 (35.54 g/plant), 01-2-102 (31.16 g/plant), 01-2-20 (29.70 g/plant), 01-2-98 (28.80 g/plant) and 01-2-50 (28.05 g/plant). These lines were then used in rice improvement.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P085 Ags44.pdf&id=2796&keeptrack=4
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ลักษณะทางการเกษตรและปริมาณแอนโทไซยานินในประชากรลูกผสมกลับ (BC2F2) ของข้าวเหนียวดำ
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2560
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของกระบวนการสกัดและการให้ความร้อนต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในการผลิตแอนโทซัยยานินชนิดผงจากข้าวเหนียวดำ พันธุกรรมของการสังเคราะห์สารแอนโธไซยานินในข้าวเหนียวดำ (Oryza sativa L. indica) สัณฐานวิทยาโครโมโซมของข้าวเหนียวดำ การศึกษาผลของสภาวะเครียดที่มีต่อการสังเคราะห์แอนโทไซยานินในข้าวและยาสูบที่มีการแสดงออกของยีนสร้างแอนโทไซยานิน ผลของข้าวกล้องข้าวเหนียวดำเพาะงอกต่อการป้องกันการเรียนรู้และความจำบกพร่องที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยสารอะไมลอยด์ เบต้า 25-35 เปปไทด์ในหนูแรทเพศผู้ โดย น.ส.เกวลิน ประมูลศิลป์ การศึกษาการทำงานร่วมกันของยีนควบคุมการสังเคราะห์แอนโทไซยานินสองชนิดในข้าวเพื่อการสร้างแอนโทไซยานินและการใช้เป็นยีนเครื่องหมายในการปรับปรุงพันธุ์ข้าว การระบุโมเลกุลเครื่องหมายที่สัมพันธ์กับลักษณะความต้านทานโรคเส้นใบเหลืองของกระเจี๊ยบเขียว การพัฒนาเครื่องหมายในระดับโมเลกุลของลักษณะความต้านทานโรคเหี่ยวเนื่องจากเชื้อ Phytophthora เพื่อการปรับปรุงพันธ์พริก การระบุโมเลกุลเครื่องหมายที่สัมพันธ์กับยีนควบคุมลักษณะความต้านทาน โรคเส้นใบเหลืองกระเจี๊ยบเขียว สภาวะเหมาะสมของปริมาณสารแอนโทไซยานิน ฟีนอลิก และการต้านออกซิเดชันในเค้กข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง โดยใช้วิธีการพื้นผิวตอบสนอง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก