สืบค้นงานวิจัย
ผลของหญ้าซิกแนลเลื้อยหมักร่วมกับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติกต่อสมรรถภาพการผลิตของแพะ
นิรันดร หนักแดง - มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ชื่อเรื่อง: ผลของหญ้าซิกแนลเลื้อยหมักร่วมกับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติกต่อสมรรถภาพการผลิตของแพะ
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of creeping signal silage (Brachiaria humidicola) ensiled with lactic acid bacteria inoculants on productive performance of goat
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิรันดร หนักแดง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นิรันดร หนักแดง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการหมักและคุณค่าทางโภชนะของหญ้าซิก แนลเสื้อยอายุ 60 วัน ที่หมักด้วยวิธีการต่าง ๆ เป็นเวลา 21 วัน โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ (CRD) แบ่งวิธีการหมักออกเป็น 4 วิธี คือ 1) หญ้าซิกแนลเลื้อยหมักปกติ, 2 หญ้าชิกแนล เลื้อยหมักเสริมกากน้ำตาล 4 เปอร์เซ็นต์, 3 หญ้าชิกแนลเลื้อยหมักเสริมหัวเชื้อแบคทีเรียผลิตกรดแล คติก และ 4) หญ้าชิกแนลเลื้อยหมักเสริมกากน้ำตาล 4 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับหัวเชื้อแบคทีเรียผลิตกรด แลคติก ผลการทดลองพบว่า ลักษณะทางกายภาพของทุกทรีทเมนต์ มีสีน้ำตาลเหลืองมีกลิ่นหอม คล้ายผลไม้ดอง และลักษณะทางกายภาพโดยรวมดีมาก ส่วนคุณค่ทางโภชนะของพืชหมักพบว่าค่า วัตถุแห้งและระดับโปรตีนมีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การเสริมกากน้ำตาล และกากน้ำตาลเสริมหัวเชื้อแบคที่เรียในการหมักหญ้าชิกแนลเลื้อยมีผลทำให้ค่า PH, NDF และ ADF มีค่าลดลง เมื่อเทียบกับการหมักแบบปติและการหมักเสริมหัวเชื้อแบคที่เรียผลิตกรดแลคติก (P0.05) และปริมาณน้ำตาลและยูเรีย-ไนโตรเจน ในแสกระ เลือด มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
บทคัดย่อ (EN): The experiments was conducted to evaluate the fermentative quality and nutritive value of creeping signal cutting at 60 days ensiling with different additive for 21 days in a completely randomized design (CRD). The treatments were 1) creeping signal silage (100 %6), 2) creeping signal to ensiling with molasses 4%, 3) creeping signal to ensiling with lactic acid bacteria and 4) creeping signal to ensiling with molasses 4% and lactic acid bacteria. The results showed that physical properties (color and odor) of creeping signal silage was similar to brownish-yellow color and fruity odor. While chemical composition of creeping signal silage showed that dry matter and crude protein of all treatments were not significant different (P>0.05). The creeping signal ensiling with molasses and molasses with lactic acid bacteria reduced NDF and ADF content of silage as compared to control and lactic acid bacteria (P0.05). Blood urea nitrogen, blood glucose and triiodothyronine were statistically different among all treatments
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของหญ้าซิกแนลเลื้อยหมักร่วมกับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติกต่อสมรรถภาพการผลิตของแพะ
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
30 กันยายน 2554
ศักยภาพการผลิตปลากัดไทยของจังหวัดฉะเชิงเทราเพื่อเป็นสินค้า OTOP และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปลากัดไทย ผลการใช้กากมันสำปะหลังหมักต่อสมรรถภาพการผลิตในเป็ดไข่รุ่น การแยกและคัดกรองแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลช้าง ม้า แพะ และโคอาลา ผลของหญ้าซิกแนลเลื้อยหมักร่วมกับเยื่อในสาคูที่ระดับต่างๆ ต่อสมรรถภาพเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงค่าชีวเคมีในกระแสเลือดของแพะ ผลของการใช้ใบปอสาหมักแห้งในอาหารต่อสมรรถภาพผลิตของสุกรขุน การวิจัยการผลิตไพลแบบบูรณาการ ผลของระดับโปรตีนในอาหารผสมครบส่วนต่อสมรรถภาพการผลิตของแพะนมเพศผู้ ผลของการใช้กลีเซอรีนดิบเป็นแหล่งพลังงานในอาหารต่อการย่อยได้และสมรรถภาพการผลิต ของโคระยะรีดนม ผลของน้ำหมักจากแบคทีเรีย Methylobacterium radiotolerans ED5-9 ที่ผลิต Indole-3-acetic acid (IAA) ต่อผลผลิตเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Jacq. ex Fr.) Kummer) เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ประโยชน์ของไข่น้ำในเชิงพาณิชย์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก