สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และบริบทชุมชน
รวีโรจน์ อนันตธนาชัย - มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และบริบทชุมชน
ชื่อเรื่อง (EN): Developmentof HealthyThaiFoodMenu baseonSufficiencyEconomyPhilosophy and Community Environment
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รวีโรจน์ อนันตธนาชัย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การพัฒนาสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและบริบทชุมชน มีวัดถุประสงค์ 1) พัฒนาศักขภาพความเป็นอาหารสุขภพของสำรับอาหารไทยในท้องถิ่นให้สูงขึ้นบนพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพีงและบริบทชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม 2) ศึกษาการขอมรับสำรับอาหารที่พัฒนาขึ้น ของผู้บริโภคในชุมชน 3) ประเมินคุณค่าทางโภชนาการและคุณสมบัติอื่นๆที่ส่งเสริมสุขภาพของสำรับ อาหารที่พัฒนาขึ้น โดยทำการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ม (Participatory Action Rescarch: PAR) ในระหว่างเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2552 ในชุมชน ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และ ภาคใต้ ณ จังหวัดอำนาจเจริญ ราชบุรี ลำปาง และ สุรายฎร์ธานี ตามลำดับ กิจกรรมได้แก่ 1) การระดมสมอง โดข คณะผู้วิจัยและบุคคลในชุมณน 12 คน ได้แก่ ผู้นำชุมหน สตรีในชุม เข้หน้าที่สารารณสุขชุมชน และ ผู้สูงอายุในชุมชน 2) การปรุงอาหารและการจัดสำรับอาหารเพื่อสุขภาพ ไดข คณะผู้วิจัยและสตรีในชุมชน 6 คน 3) การประเมินผลอาหาร โดขบุคคลวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุในชุมชน จำนวน 30 คน ด้วยวิธี ประสาทสัมผัส (Sensory Evaluation) ใช้ 5 - point Hedonic Scale 4) ประเมินคุณค่าทางโภชนาการของสำรับ อาหารโดยใช้โปรแกรม NMUCAL และ 5) ประเมินคุณสมบัติอื่นๆที่ส่งสริมสุขภาพของสำรับอาหารจากเอกสาร และงานวิจัยที่กี่ยวข้อง วิเคราะห์ ข้อมูล โดยการประมวลค่สถิติ ได้แก่ ค่เฉลี่ย ( Mea๓) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา ( Content Analysis Technique) สรุป ผลการวิจัยได้ ดังนี้ 1.ได้สำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและบริบทชุมชน จำนวน 24 สำรับ เป็นสำรับอาหารภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ ภาคละ 6 สำรับ จัดเป็นชุด ๆ ละ 3 มื้อ ได้แก่ มื้อเข้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็น ในแต่ละสำรับประกอบด้วย อาหารคาว 2 อย่าง และ ผลไม้หรือของหวาน 1 อย่าง เป็นอาหารสมดุลสำหรับวัยผู้ใหญ่ที่ทำงานหนักปานกลาง อาหารแต่ละ สำรับมี ข้าว-แป้ง 3 ส่วน เท่ากับ ข้าวสวย 165 กรัม ผัก 1-2 ส่วน ( 50 -140 กรัม) ผลไม้ 1-2 ส่วน (เช่น กล้วยน้ำว้า 1-2 ผล) เนื้อสัตว์ 3 ช้อนโต๊ะ ( เนื้อปลา/หมู/ไก่สุก 45 กรัม ) โดยไขมันใช้แต่น้อย เท่าที่จำเป็นในการปรุงอาหารเท่านั้น 2. สำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพที่พัฒนาขึ้น จำนวน 24 สำรับ โดยเฉลี่ยมีปริมาณพลังงานมื้อละ 624 กิโลแคลอรี่ เมื่อรวมพลังงานของสำรับอาหารมื้อเช้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็น แล้วมีปริมาณพลังงาน เฉลี่ยวันละ 1871 กิโลแคลอรี โดยมีสัดส่วนพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เฉลี่ยร้อยละ 60 15 และ 25 ตามลำดับมีเกลือแร่และวิตามินที่สำคัญ ได้แก่ แคลเซียม เหล็ก วิตามินเอ วิตามิน บี1 วิตามิน บี 2 วิตามิน ซี และไนอาซิน ซึ่งมี % DR (ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน : Dietimy Reference Intake) โดยเฉลี่ยร้อยละ 61 163 74 177 105. 172 และ 84 ตามลำดับ 3. สำรับอาหารที่พัฒนขึ้น ประกอบด้วยพืชผักสมุนไพร ได้แก่ หัวหอม กระเทียม พริก ตะไคร้ ข่า พริกไทย และผักพื้นบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผักและผลไม้ ซึ่งมีสีเขียว สีแดง สีส้ม และ สีเหลือง จึงมีคุณสมบัติที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น ชับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ กระตุ้นปฏิกิริยาการกำจัดสารพิษของ ร่างกาย ลดไขมันในเลือด ลดความดันโลหิต ลดน้ำตาลในเลือด ด้านอนุมูลอิสระ (antioxidants) ลดอัตราสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคมะเร็ง เป็นต้น 4. สำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพที่ พัฒนาขึ้น บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและบริบทชุมชน ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ ทั้ง 24 สำรับ ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคในชุมชน โดยมี ระดับคะแนนการยอมรับอยู่ในระดับที่ชอบถึงชอบมาก โดยสรุป สำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพที่พัฒนาขึ้น บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และบริบทชุมชน ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ มีคุณลักษณะเป็นอาหารสมดุลทางคุณค่าด้านโภชนาการ และอุดมด้วยพืชผักสมุนไพรในท้องถิ่น ซึ่งมีคุณสมบัติอื่นๆที่ส่งเสริมสุขภาพ นอกเหนือจากคุณค่าทาง โภชนาการพื้นฐาน และเป็นที่ยอมรับของสู้บริโภคในชุมชน
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และบริบทชุมชน
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
30 กันยายน 2552
อนาคตของอาหารโลกอยู่ในมือของคุณ โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บทบาทของการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน : กรณีศึกษา อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น อาหารจานด่วน กินไว ตายผ่อนส่ง การสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนากลุ่มชาวนาเป็นวิสาหกิจชุมชนด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียงในเขตที่ดินพระราชทานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น การศึกษาแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ตำบลมะเกลือใหม่ อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2553A17001020 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากพืชท้องถิ่นและวัสดุเหลือใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร การวิจัยและการพัฒนาสารชีวภาพทดแทนสารเคมีในฟาร์มโคนมเพื่อการผลิตน้ำนมดิบปลอดภัยสารพิษบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ชุดโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเศรษฐกิจในกระชัง จังหวัดนครพนม เพื่อผลิตอาหารปลาเศรษฐกิจจากใส้เดือนดิน แบบครบวงจร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก