สืบค้นงานวิจัย
ผลของพื้นที่ผิวของตัวกรองชีวภาพที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดแอมโมเนีย
เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของพื้นที่ผิวของตัวกรองชีวภาพที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดแอมโมเนีย
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of surface area of biological filter on ammonia removal efficiency
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Benjamas Chantapa Paibulkichakul
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาพื้นที่ผิวของตัวกรองชีวภาพต่อประสิทธิภาพการกำจัดแอมโมนียโดยใช้ หญ้าเทียมที่ใช้ตกแต่งตู้ เลี้ยงปลา 3 ชนิดที่มีพื้นที่ผิวต่างกันเท่ากับ 0.56 .44 และ 0.79 ตารางเมตรนำตัวกรองชีวภาพทั้ง 3 ชนิด แช่ในน้ำที่มี ไนโตรเจนที่มาจากแอมโมเนียมคลอไรด์เท่ากับ10 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร แช่เป็นระยะเวลาประมาณ 30 วัน หลังจาก นั้นจะนำตัวกรองชีวภาพทั้ง 3 ชนิด มาทดสอบประสิทธิภาพการกำจัดแอมโมเนียในน้ำที่มีความเข้มข้นที่มีไนโตรเจนเท่า กัน คือ 2มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตรผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ผิวของตัวกรองชีวภาพ (หญ้าเทียม) ทั้ง 3 ชุดการทดลองให้ ผลการกำจัดแอมโมเนียแตกต่างกันทางสถิติ (P < 0.05). หญ้าเทียมสามารถช่วยในการกำจัดแอมโมเนียได้ โดยหญ้า เทียมที่มีพื้นที่ผิวมากมีประสิทธิภาพทำให้แอมโมเนียลดลงได้มากกว่าหญ้าเทียมที่มีพื้นที่ผิวน้อย เท่ากับ 46 เปอร์เซ็นต์
บทคัดย่อ (EN): To evaluate the effect of surface area of biological filter on ammonia removal. Artificial grass that usually used to decorate aquarium were selected as biological filter. Three different surface areas of artificial grass were 0.56, 0.44 and 0.79 m2. All of biological filter had been submerged in10 mg-N/l ammonium chloride solution for 30 days before testing of efficiency of ammonia removal. After that, the submerged biological filters had been immersed in 2mg-N/l ammonia chloride solution for test of efficiency of ammonia removal. The results demonstrated that the surface area of the biological filter (artificial grass) had ammonia removal statistically different (P < 0.05). Artificial grass could remove ammonia in aquarium. The greatest surface area of artificial grass had higher removal efficiency (46 percent) than those of lower surface area.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P811.pdf&id=1380&keeptrack=15
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของพื้นที่ผิวของตัวกรองชีวภาพที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดแอมโมเนีย
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
นวัตกรรมการผลิตสารเคมีกำจัดวัชพืชและการประเมินประสิทธิภาพในการกำจัดวัชพืช การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับประสิทธิภาพของความต้านทานการลื่นไถลของผิวทาง การพัฒนาโปรแกรมการฝึกชกมวยที่บ้านต่อประสิทธิภาพการทำงานของลำตัวและการทรงตัวในผู้ที่มีโรคหลอดเลือดสมองระยะเรื้อรัง การวิเคราะห์ต้นทุน ผลตอบแทนทางการเงิน และประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองในพื้นที่จังหวัด การเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารป้องกันและกำจัดวัชพืชในนาข้าวขึ้นน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบรู้จำตัวอักษรด้วยแสงภาษาไทยโดยใช้เทคนิคการเปรียบเทียบข้อความโดยการประมาณและผลต่างของตำแหน่งตัวอักษร การสังเคราะห์แคลเซียมออกไซด์พื้นที่ผิวสูงจากเศษเปลือกไข่อุตสาหกรรม การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือตอนบน ชีววิทยาและประสิทธิภาพของด้วงเต่า (Stethorus spp.) ตัวห้ำ 3 ชนิดต่อการทำลายไข่ของไรแมงมุม การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตและปัจจัยที่ส่งผลต่อความไม่มีประสิทธิภาพการผลิตดอกเบญจมาศใน จังหวัดเชียงใหม่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก