สืบค้นงานวิจัย
การเพิ่มศักยภาพการผลิตยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การเพิ่มศักยภาพการผลิตยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): Potential Increasing for Rubber Tree Production in Northeastern
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Supat Isarangkool Na Ayutthaya
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: การดำเนินงานวิจัยครั้งนี้ต้องการพัฒนาค่มาตรฐานปริมาณธาตุอาหารในบและดินของยางพารา จำเพาะสำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และทตสอบการให้ปุยตามค่วิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในใบ และดินเบื้องตัน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาวิธีการให้ปุยตามค่วิเราะห์ธาตุอาหารในใบและดินที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสำหรับยางพาราที่ปลูกในภาคตะวันออกเฉี่ยงเหนือต่อไป โดยได้ทำการสำรวจ เก็บข้อมูลจากตัวแทนจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 จังหวัด ไต้แก่ จังหวัดชอนแก่น ชัภูมิ บุรีรัมย์ หนองคาย และสกลนคร ตำเนินการระหว่างปีพ.ศ. 2557 - 2558 โตยดำเนินการศึกษาใน ยางพาราสายพันธุ์ RRM600 แบ่งการทตลองออกเป็น 2 การทดลอง คือ 1) การพัฒนาค่ามาตรฐานธาตุ อาหารในใบและตินของยางพราเพะพื้นที่เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 2) การทตสอบวิธีการให้ ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ธาตุอาหารในใบและดินของการปลูกยางพาราสำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การศึกษาพัฒนาคำมาตรฐานธาตุอาหารในใบและดินของยางพาราเฉพาะพื้นที่เขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยคัดเลือกแปลงยางพาราของเกษตรกรตัวแทนแปลงทตลอง จาก 5 จังหวัด จังหวัต ละ 10 สวนๆ ละ 10 ต้น ที่มีอายุระหว่าง 7-10 ปี โตยคัตเลือกต้นแล้วทำเครื่องหมายติดต้นไว้ วาง แผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design เก็บตัวอย่างตินและพืช เพื่อนำมาวิเคราะห์หา ความเข้มข้นของธาตุอาหารนดินและใบยางพารา บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของยางพารา และผลผลิต เนื้อยางแห้ง โดยเก็บตัวอย่างในปี 2557 จำนวน 3 ครั้ง คือ เดือนพฤษภาคม สิงหาคม และเตือน พฤศจิกายน พบว่าตินภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าความป็นกรดเป็นด่างระหว่าง 4.3-5.1 าการนำไฟฟ้า ของตินอยู่ในช่วงระหว่าง 15.08 - 26.30 มS/cm อินทรียวัตถุของดินอยู่ในช่วงระหว่าง 1.32 - 1.47 % ค่าความเข้มชันของธาตุอาหารในดินมีความผันแปรในแต่ละจังหวัด โดยจังหวัดชัยภูมิมีปริมาณธาตุ ไนโตรเจน โพแทสเชียม แคลเชียม และธาตุแมกนีเซียมสูงกว่าจังหวัดอื่น ค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารใน ใบยางพารา พบว่า อายุใบมีผลต่อปริมาณความเข้มข้นของธาตุอาหาร โดยในบอ่อนจะมีปริมาณธาตุ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสูงกว่าใบแก่ ส่วนปริมาณธาตุแลเซียมและโบรอนใบแก่จะมีปริมาณสูงกว่าในใบ อ่อน และธาตุโพแทสเซียมกับแมกนีเชียมไม่พบการเปลี่ยนแปลงตามอายุบ ยางที่มีขนาดเส้นรอบวงลำต้น ที่ระดับความสูง 170 เซนติเมตรจากพื้นดินอยู่ระหว่าง 45.70 - 47.06 เซนติเมตร และผลผลิตเนื้อยางแห้ง อยู่ระหว่าง 29.72 - 34.39 กรัม/ต้น/ครั้งกรีต จากการศึกษาปริมาณธาตุอาหารในใบ พบว่าอายุใบมีผลต่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบ ยางพารา จึงเลือกข้อมูลของธาตอาหารในดินและใบในเดือนสิงหาคมเป็นตัวแทนในการกำหนดช่วงที่ เหมาะสมสำหรับค่ามาตรฐานในตินและใบของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเชียม แคลเชียม แมกนีเชียม และโบรอนในดิน มีค่าอยู่ในช่วง 0.03-0.10 %, 0.50-7.80 mg/kg, 30-80 mg/kg, 96-640 me/ks, 19-88 me/kg และ 0.50-4.90 mg/ks ตามลำตับ ส่วนค่า มาตรฐานในใบ ช่วงที่เหมาะสมของค่ามาตรฐานในใบของธาตุในโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเชียม แมกนีเซียม และธาตุโบรอน คือ 2.20-3.40 96, 0.18-0.27 96, 0.80-1.20 9, 0.54-0.72 %, 0.40-0.54 %6 และ 11-29 mg/kg ตามลำตับ การศึกษาทตสอบวิธีการให้ปุยตามค่าวิเคราะห์ธาตุอาหารในใบและดินสำหรับภาคตะวันออกเฉียง เหนือ โดยศึกษาเฉพาะยางพาราพันธุ์ RRM600 อายุหลังเปิดกรีต 3 - 4 ปีที่จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 6 แปลงทตลอง วางแผนการทตลองแบบ completely randomized block design (RCBD) มี 3 ทรีท เมนต์ คือ L0 : สวนผลผลิตต่ำใส่ปุยตามเกษตรกร, HO : สวนผลผลิตสูงใส่ปุ๋ยตามเกษตรกร, L1 : สวน ผลผลิตต่ำแปลงเตียวกันกับ L0ทำการให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ตินและพืช โดยเพิ่มปุ้ยไนโตรเจนและ โพแทสเซียมเพิ่มร้อยละ 20 จากสูตรเกษตรกร ทำการเก็บข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกร ความเข้มขันของ ธาตุอาหารในดิน ใบ เปลือกยางพาราและเนื้อยางแห้ง การเจริญเติบโตของยาง และผลผลิตเนื้อยางแห้ง ทำการเก็บตัวอย่างในปี 2558 จำนวน 3 ครั้ง คือ เดือนมิถุนายน สิงหาคม และเดือนพฤศจิกายน โดยการ จัดการธาตุอาหารทั่วไป เกษตรใส่ปุ๋ย 2 ครั้งต่อปี คือ ครั้งที่ 1 ใส่ช่วงตันฤดูฝน (มิถุนายน) ครั้งที่ 2 ใส่ปลาย ฤดูฝน (พฤศจิกายน) อัตราการใส่ครั้งละ 50 กิโลกรัม/ไร่ ร่วมกับปุยอินทรีย์ในอัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่/ ปรับความป็ดกรดเป็นต่างของดินด้วยปูนโดโลไมท์ในอัตรา 50 ก็โลกรัม/ไร่/1 ผลการศึกษาพบว่าการใส่ปุ๋ย ตามค่าวิเคราะห์ดินมีค่าความเข้มข้นในดินของธาตุฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และธาตุแมกนีเซียมสูงกว่าวิธี เกษตรกร (P<0.05)ส่วนความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบเดือนสิงหาคม พบว่าธาตุในโตรเจน (P<0.01) โพแทสเซียม (P<0.01) และธาตุแมกนีเซียม (P<0.05) อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างของความเข้มขั้น ธาตุอาหารในเปลือก และค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารในเนื้อยางแห้ง ส่วนการเจริญเติบโตของต้นยางไม่ มีความแตกต่างกันในการให้ปุ๋ยทุกแบบ แต่การให้ปุยตามค่าวิเคราะห์ตินมีแนวโน้มทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to 1) developed soil and leaf nutrient standards specific for the northeast Thailand and 2) tested the fertilizer application according to those soil and leaf nutrient standard. The goal of this research was to developed the fertilizer application according to soil and leaf nutrient standard. This study investigated the leaf and soil nutrients in the rubber tree clone RRIM600 plantations located in 5 provinces: Nong Khai, Sakon Nakhon, Chaiyaphum, Khon Kaen and Buriram. This research was conducted during 2014-2015. It was separated in 2 experiments: 1) development of soil and leaf nutrient standards for rubber tree in northeast area and 2) development of fertilizer application according to the nutrient standard. Firstly, the development of soil and leaf nutrient standards especially for northeast, it was done in the 50 representative rubber tree plantations in 5 provinces. In each province, 10 representative plantations were selected. Then, 10 sampled trees were selected from each plantation. The age of the plantations was ranged during 7-10 years old. The experimental design was completely randomized design (CRD). The soil and leaf sampling, growth and dry rubber yield were collected in 3 periods; May, August and November 2014. The data collection in each period was done in the same tree. The soil property of these rubber tree plantations showed that soil pH ranged between 4.30-5.09, electrical conductivity (EC) and organic matter (OM) ranged in 15.08 – 26.30 ?s/cm and 1.32 – 1.47 %, respectively. The soil nutrients were variations in each province. The nitrogen (N), potassium (K), calcium (Ca) and magnesium (Mg) in soil trend to highest in rubber tree plantation in Chaiyaphum province. For leaf nutrient concentration, we found that the leaf age had effect to the nutrient content in leaves. Young leaves had N and P content more than old leaves; while, the Ca and boron (B) content exhibited high value in the old leaves. K and Mg content were not changed according to leaf age. The growth and yield found that the rubber tree with 45.70 – 47.06 cm of girth had yield 29.72 – 34.39 g tree-1 tapping-1 . Form the result that the leaf age had effect on nutrient content in leaves, the data of leaf nutrients and yield on August 2014 were selected for establishment of soil and leaf nutrient standards for northeast region. The soil nutrient standard for northeast Thailand was 0.03-0.10 % N, 0.50-7.80 mg kg-1 P, 30-80 mg kg-1 K, 96-640 mg kg-1 Ca, 19-88 mg kg-1 Mg and 0.50–4.90mg kg-1 B. Additionally, the leaf nutrient standard was 2.20-3.40 % N, 0.18-0.27 % P, 0.80-1.20 % K, 0.54-0.72 % Ca, 0.40-0.54 % Mg and 11-29 mg kg-1 B. The development of fertilizer application according to the nutrient standard, this work was conducted in rubber tree clone RRIM600. This experimental field located in Buriram province and all plantations already tapped around 3-4 years. The experimental design was completely randomized block design (RCBD) with 3 treatments (3 replications): farmer’s method with low productivity plantation (L0), farmer’s method with high productivity plantation and fertilizer application according to soil leaf nutrient standard in low productivity plantation (L1). The L1 treatment, we added 20 percent of N and K fertilizer plus dolomite from the farmer’s method. This part was conducted in year 2015. The data recording were nutrient content in soil, leaf, bark and dry rubber, growth and dry rubber yield. All parameters were done in 3 periods: June, August and November 2015. The fertilizer application by farmer generally did 2 times per year: early rainy season (June) and end rainy season (early November). The result showed that L1 increased P, K, and Mg in soil (P<0.05). For the leaf nutrient showed that L1 had highest in N (P<0.01), K (P<0.01) and Mg (P<0.05) in August 2015. However, there were not significantly differed in the nutrient in bark and dry rubber. Lastly, the effect of fertilizer application on growth and yield showed fertilizer application had no effect on trunk girth increment, while the dry rubber yield had trend to increase in the fertilizer application according to soil and leaf nutrient standard method.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 1,244,600.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2558
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพิ่มศักยภาพการผลิตยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2558
โครงการศักยภาพการผลิต การตลาดและขีดความสามารถในการแข่งขันของยางพาราในเวียดนามและไทย การใช้ระบบการกรีดแบบสองรอยกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางและลดอาการเปลือกแห้ง ของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โครงการพัฒนาการผลิตยางพาราเชิงระบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเพิ่มสมรรถนะเพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งออกของอุตสาหกรรมยางพาราในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง : ศึกษากรณีจังหวัดศรีสะเกษ การศึกษาสมบัติเชิงพื้นที่ของดินเกี่ยวกับศักยภาพการผลิตและการจัดการเฉพาะที่ในพื้นที่ผลิตข้าวนาปีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มวิจัยการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการพัฒนาการผลิตยางพาราเชิงระบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ระยะที่ 2) ผลของการจัดการดินที่มีต่อคุณภาพของดิน : การปลูกพืชแซมระหว่างแถวยางพาราในดินทรายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลของการปลูกพืชคลุมดินต่อการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหาร และการเจริญเติบโตของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิเคราะห์แนวโน้มและดัชนีฤดูกาลของยางพาราในภาคใต้ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก