สืบค้นงานวิจัย
โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในยางพารา
สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง - สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ชื่อเรื่อง: โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในยางพารา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้เสนอที่จะทำการทำ Genotyping by Sequencing ประชากรยางพาราลูกผสม 2 ประชากรได้แก่ BPM24 x RRIM600 โดยที่ BPM24 ใช้เป็นแม่พันธุ์ของประชากรเนื่องจากเป็นพันธุ์ที่มีความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในขณะที่ RRIM600 เป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อเชื้อ Phytophthora ข้อมูล Genotype ที่ได้จะถูกใช้ในการสร้างแผนที่พันธุกรรม และใช้ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายโมเลกุลแบบ SNP ที่ได้กับลักษณะความต้านทาน/อ่อนแอต่อโรค</p>
บทคัดย่อ (EN): We propose to genotype a mapping population from BPM24 x RRIM600 to study genetic basis underlying disease tolerance/susceptibility. BPM24 is selected as a maternal line for this population because this variety is highly resistance to Phytophthora whereas RRIM600 is susceptible to Phytophthora. Populations developed from parents with extreme phenotypes are expected to show a high level of phenotype variation within the population. We expect to observe QTL or genes related to these traits.</p>
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Phytophthora ในยางพารา
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2559
กลุ่มวิจัยยางพารา โครงการวิจัยการค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจากพันธุกรรมของยางพารา การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง ลักษณะทางสรีรวิทยาและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทาน ต่อเชื้อรา Phytophthora การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับขบวนการสร้างเนื้อไม้ยางพารา การค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลควบคุมการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตจากพันธุกรรมของยางพาราโดยวิธี Association Mapping โครงการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่สัมพันธ์กับความต้านทานเชื้อ Corynespora ในยางพารา ผลของไคโตซานต่อระดับของโมเลกุลส่งสัญญาณ (SA; JA และ ABA) และการแสดงออกของ marker genes ในระบบป้องกันตนเองของยางพารา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก