สืบค้นงานวิจัย
เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร
กฤติมา เสาวกูล, สำเนาว์ เสาวกูล, เถลิงเกียรติ สมนึก, ทำนอง ชิดชอบ, ณัฏฐวรรณ สมนึก, กฤติมา เสาวกูล, สำเนาว์ เสาวกูล, เถลิงเกียรติ สมนึก, ทำนอง ชิดชอบ, ณัฏฐวรรณ สมนึก - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ชื่อเรื่อง: เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร
ชื่อเรื่อง (EN): Automatic Fish Feeding Machine Using Solar Cell for technology transfer to farmer
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ชื่อเรื่อง : เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร นักวิจัย : 1. นายเถลิงเกียรติ สมนึก 2. นายทำนอง ชิดชอบ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สำเนาว์ เสาวกูล 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กฤติมา เสาวกูล 5. นางณัฏฐวรรณ สมนึก หน่วยงาน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สุรินทร์ คณะ : เกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา วิชาประมง ปีที่จัดพิมพ์ : 2559 แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 บทคัดย่อ เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรที่ผู้จัดทำได้ออกแบบ และจัดทำขึ้นความสามารถในการให้อาหารปลาในบ่อประเภทต่างๆ เช่น กระชัง บ่อดิน บ่อคอนกรีต เป็นต้น ใช้ระบบการปล่อยอาหารปลาแบบลอย สามารถปล่อยได้ตามเวลาที่กำหนดเป็นช่วงเวลาและสามรถควบคุมปริมาณอาหารปลาได้ดี และสะดวกในการให้อาหารและติดตั้งการใช้งาน สามารถประหยัดพลังงานได้มากขึ้น และตัวโครงสร้างยังสามารถทรงตัวได้ดีในขณะลอยให้อาหารกลางบ่อ ระบบเก็บประจุพลังงานไฟฟ้าสามารถเก็บพลังได้ดี ในกรณีที่ให้อาหารด้วยเครื่องให้อาหารอัตโนมัติระหว่างเวลาตลอด 24 ชั่วโมง โดยการกำหนดเวลาการให้ เวลา 08.00 16.00 และ 24.00 น. ตามที่ได้กำหนด จะมีช่วงเวลาที่เครื่องจะหยุดทำงานอยู่ อัตราการกินอาหารก็จะสม่ำเสมอ และเมื่อมีการเปลี่ยนรูปแบบการให้อาหารจากการใช้อาหารด้วยเครื่องอัตโนมัติด้วยพลังงานไฟฟ้า มาเป็นการให้อาหารด้วยเครื่องอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ จึงจำเป็นที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการปรับแรงเหวี่ยงที่เหมาะสมระหว่างระดับความแรงมอเตอร์กับน้ำหนักอาหาร (กรัม) ขนาดเล็ก ในระดับ 10, 5, 1 วินาที มีระดับแรงเหวี่ยงไม่แตกต่างกันมากนัก จำนวนอาหารมากน้อยขึ้นอยู่กับเวลาที่ให้อาหาร คำสำคัญ: เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติ พลังงานแสงอาทิตย์ ถ่ายทอดเทคโนโลยี
บทคัดย่อ (EN): Research Title : : Automatic Fish Feeding Machine Using Solar Cell for technology transfer to farmer Researcher : : 1. Mr. Talerngkiat Somnuek 2. Mr. Thumnong Chidchop 3. Assist. Prof. Dr. Samnao Saowakoon 4. Assist. Prof. Dr. Krittima Saowakoon 5. Mrs. Nuttawan Somnuek University : : Rajamangala University of Technology Isan Faculty : : Faculty of Agriculture and Technology Department : Fishery Published Year : : 2016 Source of Fund : Rajamangala University of Technology Automatic fish feeders using solar energy. To transfer technology to farmers who do the design. And with the ability to feed the fish in the ponds of various types, such as cages or concrete ponds used to release fish floating. Can be released at any given time is a time and a third, control the amount of food the fish well. And easy to install and use. Can save more energy And the structure is also well poised to float in the middle of a pond. Capacitors store electric power system as well. In case of feeding with automatic feeder during the 24-hour deadline to 08:00 16:00 and 24:00. There will be time to stop running. The feed is consistent. And when changing the type of food to feed the machine with electric power. Comes with automatic feeding by solar energy. We need to change the momentum around the motor strength / weight (g) size class 10, 5, 1 second, with the centrifugal force amounts of food depending on the time of feeding. Keywords: Automatic Fish Feeding Machine, solar cell ,transfer technology
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
30 กันยายน 2560
ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาอีกงวัยรุ่น ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารปลาสลิด การอบแห้งเนื้อสับปะรดแว่นโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานจากก๊าซชีวมวล ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลากระดี่นาง การเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ดีและถ่ายทอดงานวิจัยสู่เกษตรกรจังหวัดสระบุรี อาหารบำรุงสมอง ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลากระดี่หม้อ อนาคตของอาหารโลกอยู่ในมือของคุณ ระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสมในอาหารสำหรับปลาเทพาขนาดเล็ก การพัฒนาเครื่องอบแห้งยางพาราแผ่นขนาดเล็กโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเตาเผาชีวมวล

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก