สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ธัญนันท์ วรเศรษฐพงษ์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Technology Transfer of Knowledge Center follow the Royal Initiative Project
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธัญนันท์ วรเศรษฐพงษ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ด้านการขยายพันธุ์หญ้าแฝก ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และการแปรรูปผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมจากหญ้าแฝก และ 3) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกให้มีมูลค่าสูงขึ้น โดยมีประชากรและกลุ่มตัวอย่างการวิจัยครั้งนี้คือ ชุมชนและนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองโยง จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2) แบบวัดความรู้ในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 3) แบบสอบถามความพึงพอใจในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมจากหญ้าแฝก ประเมินผลการเรียนรู้ของเยาวชนด้วยแบบทดสอบวัดความรู้ โดยใช้สถิติวิเคราะห์ t-test และวิเคราะห์ความพึงพอใจ ด้วยค่าเฉลี่ย ร้อยละ และฐานนิยม การดำเนินการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความต้องการรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ระยะที่ 2 การปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และระยะที่ 3 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมจากหญ้าแฝก ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ได้รูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2) เกิดกระบวนการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และ 3) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมจากหญ้าแฝกส่งทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
บทคัดย่อ (EN): Research and Technology Transfer of Knowledge Center follow the Royal Initiative Project, due to the initiative. Aims 1) to investigate a Knowledge Center follow the Royal Initiative Project due to the initiative, 2) to transfer the knowledge and the processing industry, from grass Massage and 3) to develop higher-value products and vetiver.The population and samples of this research is. Community and home school students a number of Canal 300. Equipment used in this study include 1) a demand for a learning center, due to the conservation of plant genetic Royal 2) a measure knowledge in the conservation of plant genetic. 3) a preference for technology transfer, processing and product development industry, from grass Massage. Evaluating the learning of young people with a knowledge test. Statistical analysis using t-test and analysis of customer satisfaction. The average percentage and mode. The study is divided into three phases: Phase 1 study of information related to a Knowledge Center follow the Royal Initiative Project, due to the initiative, Phase 2, the growing awareness of conservation genetics. Phase 3 plant and technology transfer, processing and product development industry, from grass Massage. The results are summarized as follows: 1) the form of a learning center in Plant Genetic Conservation Project, due to the initiative 2) the process of raising awareness on the conservation of plant genetic and 3) technology transfer, processing and product development, Massage. industry, from grass to make a better living. Statistically significant at the 0.05 level.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
30 กันยายน 2553
โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มหาวิทยาลัยพะเยา การสำรวจกล้วยไม้ป่าในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น การสำรวจและอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ป่า ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนห้วยกุ่ม จ.ชัยภูมิ การโคลนยีนกำหนดการสร้างเปปไทด์ ต้านจุลินทรีย์จากสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก การใช้ประโยชน์ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ความหลากหลายทางชีวภาพของด้วงมูลสัตว์ในระบบนิเวศ ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ทรัพยากรชีวภาพทางทะเลในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี : องค์ความรู้ผันสู่วิถีไทยและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพร การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่อาศัยของนกในบริเวณพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้ ความหลากชนิด ความหลากหลายทางพันธุกรรม นิเวศวิทยา และโรคติดเชื้อในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก บริเวณพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประเมินสถานภาพของหอยมือเสือครอบครัว Tridacnidae บริเวณแนวปะการังหมู่เกาะสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ความหลากชนิดของสัตว์กลุ่มหอยในจังหวัดสระแก้ว (สนองพระราชดำริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก