สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพการผลิตและต้นทุนการผลิตในโคเนื้อโดยใช้อาหารหมักและอาหารสัตว์เส้นใย (WDGS) จากวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เปรียบเทียบกับการใช้กากเบียร์
สมชาติ ธนะ, ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ, กฤตภาค บูรณวิทย์ - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพการผลิตและต้นทุนการผลิตในโคเนื้อโดยใช้อาหารหมักและอาหารสัตว์เส้นใย (WDGS) จากวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เปรียบเทียบกับการใช้กากเบียร์
ชื่อเรื่อง (EN): A Comparative of Production Traits and Cost Efficiency in Wet Distillers Grains with Solubles (WDGS) versus Brewers’ Wet Grain in Beef Cattle.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตและต้นทนการ ผลิต ระหว่างเปลือกข้าวโพดหมักเปรียบเทียบกับฟางข้าวในโคขาวลาพูน โดยจะใช้โคพื้นเมือง พันธุ์ขาวลาพูนเพศผู้ตอนจานวน 12 ตัว น้าหนักตัวเฉลี่ยเริ่มต้นที่ 180.5 ? 30.71 กิโลกรัม อายุ ประมาณ 2 ปี แล้วทาการจัดกลุ่มให้อยู่ 1 ใน 4 คอก คอกละ 3 ตัว ใช้แผนการทดลองแบบสุ่ม สมบรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) ลงในอาหาร 1.ฟางข้าวเปนอาหารหยาบ เสริมด้วยกากเบียร์สด 2.ฟางข้าวเปนอาหารหยาบเสริมด้วยกากถั่วเหลือง 3.เปลือกข้าวโพด หมักเป็นอาหารหยาบเสริมด้วยกากเบียร์สด 4.เปลือกข้าวโพดหมักเปนอาหารหยาบเสริมด้วย กากถั่วเหลือง ระยะเวลาในการเลี้ยง 95 วัน วิเคราะห์ทางสถิติด้วยวิธี (Analysis of Variances: ANOVA) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแต่ละกลุ่มด้วยวิธี Duncan New Multiple Range Test น้าหนักตัวเริ่มต้น ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ในกลุ่มการทดลองที่ 4 ที่เลี้ยงด้วย เปลือกข้าวโพดหมักเปนอาหารหยาบเสริมด้วยกากถั่วเหลือง มีน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้น น้าหนักตัว สุดท้าย และอัตราการเจริญเติบโตที่สูงขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมือเทียบกับ กลุ่ม อื่นๆ ในส่วนปริมาณการกินแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง (P<0.001) สาหรับกลุ่มที่เลี้ยงด้วย เปลือกข้าวโพดหมักเปนอาหารหยาบเสริมด้วยกากเบียร์สดสูงขึ้นเมือเทียบกับ กลุ่มอื่นๆ ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเปนน้าหนัก (FCR) ในกลุ่มที่เลี้ยงด้วยฟางข้าวเปนอาหารหยาบ เสริมด้วยกากถั่วเหลืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) เมือเทียบกลุ่มอื่นๆ ในส่วนของ ต้นทนการผลิตแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง (P<0.001) ในกลุ่มที่เลี้ยงด้วยเปลือกข้าวโพด หมักเป็นอาหารหยาบเสริมด้วยกากเบียร์สดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ จะเห็นได้ว่าการเลี้ยงโคขาว ลาพูนด้วยเปลือกข้าวโพดหมัก สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทนการผลิตได้ ดังนั้นจึงสามารนาเปลือกข้าวโพดหมักมาใช้แทนฟางข้าวในยามขาดแคลนได้
บทคัดย่อ (EN): The experiments were conducted to corn silage compared with straw on performance traits and production costs of white lamphun cattle. In experiments used 12 white lamphun cattle (2 year; 180.5 ? 30.71 kg BW). Were stratified in Completely Randomized Design: (CRD) (4 pens; 3 steers/ pen; 3 treatment replications). Randomly assigned to 1 of 4 dietary treatments: 1) Straw and wet distillers grain plus solubles. 2) Straw and soybean meal. 3) corn-silage and wet distillers grain plus solubles. 4) corn silage and soybean meal. Steers were harvested when they reached an endpoint for a 62 d trial. Analysis of Variances (ANOVA) were used and compared 1) Straw and wet distillers grain plus solubles. 2) Straw and soybean meal. 3) corn-silage and wet distillers grain plus solubles. 4) corn-silage and soybean meal. Comparing average by Duncan New Multiple Range Teat. Non-significant for Initial body weight (P>0.05). Body weight gain, final body weight and Average Daily Gain greater for treatments 4 fed corn-silage and soybean meal compared with the other treatments. Feed intake differ significantly (P<0.001) for treatments 3 corn-silage and wet distillers grain plus solubles compared with the other treatments. Feed conversion ratio (FCR) significantly for treatments 2 Straw and soybean meal compared with the other treatments. Production Costs differ significantly worse (P<0.001) for treatments 2 Straw and soybean meal compared with the other treatments. Data from these studies suggest that used corn silage successfully replace straw As a result Increasing Performance Traits and Production Costs is lower.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพการผลิตและต้นทุนการผลิตในโคเนื้อโดยใช้อาหารหมักและอาหารสัตว์เส้นใย (WDGS) จากวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เปรียบเทียบกับการใช้กากเบียร์
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2557
เบียร์ผสม CBD ผ่อนคลายไม่ต้องเมาค้าง การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การใช้ประโยชน์ต้นข้าวโพดหลังเก็บฝักเป็นอาหารสัตว์ 2) สำหรับโครีดนม การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มเป็นแหล่งโปรตีนในสูตรอาหารข้นสำหรับโคเนื้อ ความเป็นไปได้ในการใช้กากมะเขือเทศเป็นอาหารสัตว์3)การใช้กากมะเขือเทศแห้งเป็นอาหารหยาบเลี้ยงโค ความเป็นไปได้ในการใช้กากมะเขือเทศเป็นอาหารสัตว์ 4.การใช้กากมะเขือเทศเป็นอาหารหยาบหลักเลี้ยงโครีดนมในฤดูแล้ง การปลูกข้าวโพดส่วนเกินเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ การใช้วัสดุพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารโครีดนมในฤดูแล้ง การเสริมวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรมการเกษตรตามฤดูกาลเลี้ยงโคลูกผสมบราห์มัน-พื้นเมืองเพศผู้ การใช้เมล็ดฝ้ายเป็นอาหารสัตว์ 3.การใช้เมล็ดฝ้ายและกากเมล็ดฝ้ายขุนโค

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก