สืบค้นงานวิจัย
การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus)
อุทัยรัตน์ ณ นคร, นนทวิทย์ อารีย์ชน, ประพันธ์ศักดิ์ ศรีษะภูมิ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus)
ชื่อเรื่อง (EN): Molecular Identification and Resistance against Streptococcosis of Nile Tilapia (Oreochromis niloticus Linnaeus) Strains
บทคัดย่อ: การศึกษา cDNA บางส่วนของยีน MHC class Ia ที่ได้จากห้องสมุด cDNA ของม้ามปลานิล เมื่อนำมาทำ 5' RACE ทำให้ได้ลำดับนิวคลีโอไทด์ทั้งหมดของยีน MHC class Ia มีความยาวเท่ากับ 2,131 bp ซึ่งประกอบด้วย Open reading frame เท่ากับ 1,071 bp บริเวณ 5' UTR และ 3' UTR เท่ากับ 128 และ 932 bp ตามลำดับ พบความหลากหลายของลำดับนิวคลีโอ-ไทด์ในยีน MHC class I? ทั้ง 6 สายพันธุ์ เมื่อทำการวิเคราะห์ในบริเวณ a1 และ a2 พบจำนวนอัลลิลทั้งหมด 15 อัลลิล นอกจากนี้การทดสอบความานทานต่อโรค Streptococcosis โดยการฉีดด้วยเชื้อมีชีวิตของ Streptococcus agalactiae เข้าทางช่องท้อง พบว่าสายพันธุ์ ST1 มีอัตราการรอดตายสูงสุดที่ 100% หลังการทดสอบที่ระยะเวลา 7 วัน ซึ่งสูงกว่าอีก 5 สายพันธุ์ (ST2-ST6) ซึ่งมีค่าอัตราการรอดตายที่ 86.67+5.77, 73.33+5.77, 70.00+0.00, 60.00+0.00 และ 43.43+5.77% ตามลำดับ และได้ทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าทางโลหิตวิทยาและค่าทางภูมิคุ้มกันด้วย การศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้อัลลิล Orni*a ที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทานต่อเชื้อแบคทีเรีย S. agalactiae ในปลานิลจาก 6 สายพันธุ์ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นเครื่องหมายพันธุกรรมในการคัดเลือกสายพันธุ์ต้านทานโรค Streptococcosis ต่อไปการศึกษา cDNA บางส่วนของยีน MHC class Ia ที่ได้จากห้องสมุด cDNA ของม้ามปลานิล เมื่อนำมาทำ 5' RACE ทำให้ได้ลำดับนิวคลีโอไทด์ทั้งหมดของยีน MHC class Ia มีความยาวเท่ากับ 2,131 bp ซึ่งประกอบด้วย Open reading frame เท่ากับ 1,071 bp บริเวณ 5' UTR และ 3' UTR เท่ากับ 128 และ 932 bp ตามลำดับ พบความหลากหลายของลำดับนิวคลีโอ-ไทด์ในยีน MHC class I? ทั้ง 6 สายพันธุ์ เมื่อทำการวิเคราะห์ในบริเวณ a1 และ a2 พบจำนวนอัลลิลทั้งหมด 15 อัลลิล นอกจากนี้การทดสอบความานทานต่อโรค Streptococcosis โดยการฉีดด้วยเชื้อมีชีวิตของ Streptococcus agalactiae เข้าทางช่องท้อง พบว่าสายพันธุ์ ST1 มีอัตราการรอดตายสูงสุดที่ 100% หลังการทดสอบที่ระยะเวลา 7 วัน ซึ่งสูงกว่าอีก 5 สายพันธุ์ (ST2-ST6) ซึ่งมีค่าอัตราการรอดตายที่ 86.67+5.77, 73.33+5.77, 70.00+0.00, 60.00+0.00 และ 43.43+5.77% ตามลำดับ และได้ทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าทางโลหิตวิทยาและค่าทางภูมิคุ้มกันด้วย การศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้อัลลิล Orni*a ที่มีความสัมพันธ์กับความต้านทานต่อเชื้อแบคทีเรีย S. agalactiae ในปลานิลจาก 6 สายพันธุ์ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นเครื่องหมายพันธุกรรมในการคัดเลือกสายพันธุ์ต้านทานโรค Streptococcosis ต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Partial cDNA encoding major histocompatibility complex class I alpha (MHC class Ia) gene was obtained from a cDNA library of Nile tilapia (Oreochromis niloticus) spleen. 5' RACE was then conducted to get the full-length of MHC class Ia cDNA. Sequence analysis revealed that this cDNA consisted of 2,131 bp including a 1,071 bp open reading frame with 5' untranslated and 3' untranslated regions (UTR) of 128 bp and 932 bp respectively. Highly polymorphic characteristic of MHC class Ia in 6 different strains of Nile tilapia (ST1-ST6) was evident. At least 15 different alleles were observed when the specific primers were used to amplify nucleotide sequences of a1 and a2 domains. Additionally, resistance against streptococcosis of these strains was compared by intraperitoneal injection with viable Streptococcus agalactiae. The result revealed that ST1 strain showed significantly higher survival rate than the other five strains (ST2-ST6) with 100% survival after 7 days of injection (P<0.05). While the others were 86.67+5.77, 73.33+5.77, 70.00+0.00, 60.00+0.00 and 43.43+5.77%, respectively. Some haematological and immunological parameters were also compared. This study provides valid information for further investigation to select the S. agalactiae resistant strain of Nile tilapia using MHC class Ia (Orni*a allele) as the molecular marker for the strain selection and breeding program.Partial cDNA encoding major histocompatibility complex class I alpha (MHC class Ia) gene was obtained from a cDNA library of Nile tilapia (Oreochromis niloticus) spleen. 5' RACE was then conducted to get the full-length of MHC class Ia cDNA. Sequence analysis revealed that this cDNA consisted of 2,131 bp including a 1,071 bp open reading frame with 5' untranslated and 3' untranslated regions (UTR) of 128 bp and 932 bp respectively. Highly polymorphic characteristic of MHC class Ia in 6 different strains of Nile tilapia (ST1-ST6) was evident. At least 15 different alleles were observed when the specific primers were used to amplify nucleotide sequences of a1 and a2 domains. Additionally, resistance against streptococcosis of these strains was compared by intraperitoneal injection with viable Streptococcus agalactiae. The result revealed that ST1 strain showed significantly higher survival rate than the other five strains (ST2-ST6) with 100% survival after 7 days of injection (P<0.05). While the others were 86.67+5.77, 73.33+5.77, 70.00+0.00, 60.00+0.00 and 43.43+5.77%, respectively. Some haematological and immunological parameters were also compared. This study provides valid information for further investigation to select the S. agalactiae resistant strain of Nile tilapia using MHC class Ia (Orni*a allele) as the molecular marker for the strain selection and breeding program.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2552
การผสมข้ามปลานิลแดง 3 สายพันธุ์ การทดสอบสายพันธุ์ปลานิลจิตรลดา 3 และปลานิลจิตรลดา 4 ในกระชังของเกษตรกร การทดสอบความต้านทานของพันธุ์/สายพันธุ์ข้าวต่อโรคขอบใบแห้ง และโรคไหม้คอรวง ข้าวเหนียวสายพันธุ์ต้านทานโรคและแมลง PRE01014-20-1-2-1 ความต้านทานโรคที่สำคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา 1,600 สายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ปลานิลสีแดงสายพันธุ์ไทยโดยการคัดเลือกหมู่ การพัฒนาพันธุ์ข้าวกข6 สายพันธุ์คล้าย ให้ต้านทานโรคไหม้ และทนเค็ม การพัฒนาตำรับอาหารว่างเพื่อสุขภาพจากปลานิลสายพันธุ์จิตรลดา การเปรียบเทียบพริก 10 สายพันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคใบด่าง ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อคุณลักษณะสายพันธุ์พริกต้านทานโรค กรณีศึกษา โรคใบหงิกเหลือง
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก