สืบค้นงานวิจัย
สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา: เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ และ เขต 4 จังหวัดพิษณุโลก
รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติมา ชาญวิชัย - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา: เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ และ เขต 4 จังหวัดพิษณุโลก
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติมา ชาญวิชัย
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: บทความนี้เป็นการน าเสนอผลการศึกษา โครงการวิจัย สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนในยุคทีวีดิจิทัลใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาจากเอกสาร การสังเกต และการสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน จากสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ และเขต 4 จังหวัดพิษณุโลก จ านวน 10 คนผลการศึกษาพบว่า การวางแผนจัดการเนื้อหาของสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 มีสิ่งที่ต้องพิจารณาด าเนินการใน 3 เรื่องใหญ่ ๆ เพื่อให้การท างานสามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงจากระบบอนาล็อคเป็นระบบดิจิทัล คือ 1. การวางแผนการน าเสนอเนื้อหาให้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง 2. การสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละเขตให้เกิดความชัดเจนในการน าเสนอเนื้อหาข่าวและรายการ 3. การบริหารจัดการเนื้อหารายการร่วมกัน ด้านวิธีการและช่องทางการน าเสนอเนื้อหา ในปัจจุบันช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของรายการต่าง ๆ ของสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 จะประกอบด้วย 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. การเป็นช่องดิจิทัล 1 สถานีส าหรับส่วนกลางในฐานะแม่ข่าย และการออกอากาศทางดาวเทียมส าหรับสถานีภูมิภาค 2. การเป็นช่องดิจิทัลชุมชนหรือเป็นเครือข่ายเคเบิลทีวี และ 3. การใช้สื่อใหม่ช่วยในการเผยแพร่ข่าวและรายการ สุดท้ายการพัฒนางานด้านเทคนิคให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ควรต้องพัฒนาทั้ง ในแง่ของความพร้อมของเครื่องมือให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และ การต้องสามารถแข่งขันกับองค์กรสื่ออื่น ๆ ได้ค าส าคัญ: 1) สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 2) ยุคทีวีดิจิทั
บทคัดย่อ (EN): The article presents the results and analysis of the qualitative study on the National BroadcastingServices of Thailand or NBT’s altering pathway in the digital age. It concentrates ontwo caseswhich are: theNational Broadcasting Services of Thailand, Region 3, Chiangmai and the National Broadcasting Services of ThailandRegion 4, Phitsanulok. The article provides three major findings for the NBT’s altering pathway inthe digital age. They are content management, distributing content pathways, and development of the technicaldepartment. For content management,there are three main findings. First, a practical plan on24-hour-contentsmust be considered. Second, in order to be recognized, each region must position their own identity and uniquecontent of both news and other programs. Third, each region should plan to organize the contents together.The findings moreover show three pathways to distributethe NBT’s content. It includes the following; first, the central station in Bangkok is a digital host station, and regional stations broadcast through the satellite; second,it has a digital community channel or cable network; and third, it employs new media such as social networkto distribute its content of both news and other programs.For the development of the technical departmentin the digital age, there are two main recommendations to be considered; first, the technical equipment and system must be altered, in order to keep up with changes in technological transformation; second, the procurement systemmust be adjusted in order to compete in a highly competitive environment.Keywords: 1) T he National Broadcasting Services of Thailand (NBT) 2) Television in Digital Age
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-04-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: 1. เพื่อศึกษาการวางแผนจัดการเนื้อหาของสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนจากระบบอนาล็อกมาเป็นระบบดิจิทัล 2. เพื่อศึกษาวิธีการและช่องทางการนำเสนอเนื้อหาดังกล่าว บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนจากระบบอนาล็อกมาเป็นระบบ ดิจิทัล 3. เพื่อศึกษาการพัฒนางานด้านเทคนิคให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงจากระบบอนาล็อกมาเป็นระบบดิจิทัล
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา: เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ และ เขต 4 จังหวัดพิษณุโลก
มหาวิทยาลัยนเรศวร
31 มีนาคม 2560
เอกสารแนบ 1
แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ โรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่นกรณีศึกษา: โรงเรียนในเขตกิ่งอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ โรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่นกรณีศึกษา: โรงเรียนในเขตกิ่งอำเภอดอยหล่อจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาระบการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามในร่องสวนผลไม้ จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่ ศักยภาพในการผลิตไก่ฟ้าของประเทศไทย การศึกษาสารพิษตกค้างทางการเกษตรในดินสวนทุเรียน เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนการผลิตแบบอินทรีย์ มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารของประเทศไทย ศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และระบบการผลิตกล้วยน้ำว้าบางสายพันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้าในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ศักยภาพการผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์สู่มาตรฐานสากล ของ จังหวัดเชียงใหม่

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก