สืบค้นงานวิจัย
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก
สมชาย รัตนมาลี - มหาวิทยาลัยนครพนม
ชื่อเรื่อง: การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก
ชื่อเรื่อง (EN): Technology transfer of mushroom (Lentinus polychrous Lev.) production for domestic and export markets
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมชาย รัตนมาลี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การถายทอดเทคโนโลยการเพาะเหดบด (Lentinus polychrous Lev.) เพอการบรโภคในประเทศและการสงออก ประชาชนจานวนมากในหลายหมบานของจงหวดนครพนม ทเพาะเหดบด ทาใหมชวตทดขนไดอยางพอเพยง และหากไดรบ การสงเสรมดานเงนทนจากรฐบาลดวยแลว ในอนาคตคาดวาจะมการสงออกเพมมากขน จากการสารวจ การอบรมและการ สมภาษณชาวบานเหลาน จานวน 1,192 คนปรากฏวา ชาวบานไดใชเทคโนโลยการเพาะเหด เพอผลตเหดบดในขอนไม 5 ชนด ไดแก ไมมะมวง (Mangifera indica L.) ไมตะเคยน (Hopea odorata) ไมกระบาก (Anisoptera costata) ไมเตง (Shorea obtusa) และ ไมรง (Shorea siamensis) เจาะขอนโดยใช สวาน คอน สว และเหลกบลอก แลวใชปนซเมนต เปลอกไม กอนหน กอนกรวดและขสวาน ปดร พบวาขอนไมมะมวงใหผลผลตเหดบดเฉลยไดมากทสด คอ 592.00 กรมและม ความแตกตางอยางมนยสาคญยงทางสถต (p<0.01) ขณะทขอนไมตะเคยนใหผลผลตเฉลยรองลงมาคอ 237.50 กรม ขอน ไมรงใหผลผลตเฉลยรองจากขอนไมตะเคยนคอ 227.00 กรม ขอนไมกระบากใหผลผลตเฉลยคอ 183.25 กรมรองจากขอน ไมรง สวนขอนไมเตงใหผลผลตเหดบดเฉลยตาทสดคอ 168.75 กรม โดยขอนไมตะเคยน ขอนไมกระบาก ขอนไมเตง และ ขอนไมรง ใหผลผลตเหดบดทไมแตกตางกนอยางมนยสาคญทางสถต (p>0.05) การผลตเหดบดในขอนไมทง 5 ชนดมความ คมคาทางเศรษฐกจ นอกจากนยงพบวาขอนไมทมขนาดเสนผาศนยกลางระหวาง 5.5- 14.0 เซนตเมตร และ มนาหนกขอน ไมอยระหวาง 5.6-31.4 กโลกรม ใหผลผลตเหดบดไดในปรมาณทมาก โดยมความสมพนธกนแบบเสนตรงเชงบวก (R2= 0.3065,p<0.05 และ 0.5149, p<0.01) เหดบดใชเวลาในการบมพกเชอประมาณ 7-12 เดอนใตรมไม มหาวทยาลยนครพนม ไดเขาไปทาการสงเสรมชาวบานใหทาการเพาะเหดบดตามหลกปรชญาเศรษฐกจพอเพยง ซงนาความผาสกมาสครอบครวและ ชมชนตลอดไป คาสาคญ: Lentinus polychrous Lev., เหด, การเพาะเหด
บทคัดย่อ (EN): Technology transfers of mushroom (Lentinus polychrous Lev.) production for domestic and export markets. People from many villages in Nakhon Phanom province cultivated this mushroom and could help them the sustainable life. It could be prominent exporting produce, if the Royal Thai government provide some supports. From the investigation, training and interview of 1,192 local villagers, The mushroom were cultivated on logs of trees especially in 5 species of tree such as Mangifera indica L., Hopea odorata, Anisoptera costata, Shorea obtusa and Shorea siamensis. A hole was prepared by using a gimlet drill, hammer pump, chisel and wad punch pump logs and then cement, cork, rock, grit and drill dust were used to cover the hole. It showed that the mushroom growing on the log of tree Mangifera indica L. was highest in the average yield of 592.00 g. with highly significant difference (p<0.01) from the others, followed by Hopea odorata gave the yield of 237.50 g. Shorea siamensis gave average of 227.00 g. Anisoptera costata gave average of 183.25 g. and when Shorea obtusa gave average of 168.75 g. respectively. These 5 species of tree could produce the mushroom in economic value. The size of logs diameter were between 5.5-14.0 cm. and the weight of logs were between 5.631.4 Kg. giving the high yield of the mushroom with relationship as positive linear relationship (R2=0.3065, p<0.05 and R2=0.5149, p<0.01). The incubation time of mushroom was about 7-12 months by taking the logs to the shade of trees. Nakhon Phanom University gave this technology instruction on villages follow by sufficiency economic philosophy so finally the people could have rich lives endlessly. Keywords: Lentinus polychrous Lev., Mushroom, cultivation
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนครพนม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดบดเพื่อการบริโภคในประเทศและส่งออก
มหาวิทยาลัยนครพนม
30 กันยายน 2553
เอกสารแนบ 1
การผลิตเอทานอลโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเพาะเห็ด การศึกษาการเพาะเห็ดฟาง โดยใช้ก้อนเชื้อเห็ดที่ทิ้งแล้ว การใช้น้ำส้มควันไม้กับการเพาะเห็ดโคนน้อย เห็ดฟาง ในกระถางที่มีส่วนผสมของผักตบชวาสำหรับระยะการเจริญเป็นดอกเห็ด โครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะเห็ดหัวลิงในภาคตะวันออกของประเทศไทย การวิจัยและพัฒนาการเพาะเห็ดสมุนไพรเพื่อเป็นวัตถุดิบที่มีมาตรฐานสำหรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากเห็ด ศึกษาการใช้ประโยชน์จากขี้เลื่อยเก่าจากการเพาะเห็ด โครงการวิจัย การเพาะเห็ดที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ภาคเหนือตอนบน สภาพการเพาะเห็ดฟางจากเปลือกมันสำปะหลังของเกษตรกรตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2546 นวัตกรรมสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ด: การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า การประยุกต์ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดเป็นสารเสริมในอาหารไก่เนื้อ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก