สืบค้นงานวิจัย
ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินได้ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมที่ได้รับต้นอ้อยตากแห้งเป็นอาหารหยาบหลัก
อนันต์ เชาว์เครือ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินได้ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมที่ได้รับต้นอ้อยตากแห้งเป็นอาหารหยาบหลัก
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of dietary protein and energy levels on growth performance in dairy cattle fed dried whole sugarcane roughage based
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อนันต์ เชาว์เครือ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Anan Chaokaur
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กฤตพล สมมาตย์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Kritapon Sommart
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินได้ต่อสมรรถนะการเจริญ เติบโตและค่าชีวเคมีในเลือดของโคนมระยะรุ่นที่ได้รับต้นอ้อยเป็นอาหารหยาบหลัก ใช้โคนมพันธุ์ลูกผสมโฮสไตล์ฟรี เชี่ยนคละเพศ (เพศผู้ 12 ตัว และเพศเมีย 12 ตัว) ระยะวุ่น จำนวน 24 ตัว (น้ำหนักเฉลี่ย 144.1+11.0 กก. อายุเฉลี่ย 9+1.2 เดือน) วางแผนการทดลองแบบ randomized complete block design จำนวน 4 ซ้ำ โดยใช้น้ำหนักร่างกายเป็นบล็อก ทำการ จัดปัจจัยทดลองแบบ 3 X 2 factorial ซึ่งจะประกอบด้วยปัจจัยของระดับโภซนะโปรตีนที่กินได้ 3 ระดับคือ 6, 10 และ 14 gCP/k9W"/d ร่วมกับปัจจัยของระดับพลังงานที่กินได้ 2 ระดับคือ 792 และ 885 kJ MEKgWO"/d สุมสัตว์ให้ได้รับ อาหารปัจจัยทดลองแตกต่างกัน 6 แบบ พบว่า โคที่ได้รับอาหารที่มีระดับโภชนะโปรตีนสูงขึ้นมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของ ค่า ปริมาณการกินได้วัตถุแห้งและอินทรียวัตถุ อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวันเพิ่มขึ้นแบบ cuvilinear และมีผลต่อ การเพิ่มขึ้นของค่าปริมาณยูเรียไนโตรเจนและค่าปริมาณน้ำตาลกลูโคสในกระแสเลือด (P<0.01) ดังนั้นการจัดสูตรอาหาร ให้มีความสมดุลย์และมีโภชนะที่เหมาะสมคือ มีโปรตีนระดับกลาง (10 gCP/IgW0"9 และพลังงานระดับสูง (885 KJ ME/ kgw. มีผลทำให้โคมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวันมากที่สุดเท่ากับ 710 กรัม/ตัว/วัน และปรับปรุงเพิ่มสมรรถนะ การเจริญเติบโตได้
บทคัดย่อ (EN): Twenty four growing Holstein crossbred dairy cattle (average weight 144.1+11.0 kg; average age 9+1.2 month) were used in a feeding trial to determine the effect of dietary energy and protein intake on feed intake and weight gain and blood metabolites of the cattle fed whole sugarcane forage based diets. Treatments were applied according to a 3 x 2 factorial arrangement in a randomized complete block design. Dietary treatments were assigned to containing crude protein (CP) intake either 6, 10 or 14 gCP/kgW0.75/d. and metabolizable energy (ME) intake either 792 or 885 kJ ME/kgW0.75/d. Higher dietary CP intake level increased dry matter and organic matter intake. Average daily gain (ADG) was increased curvilinear by dietary protein intake levels. High level of dietary CP intake resulted in high blood urea nitrogen and blood glucose (P<0.01). In conclusion, dried whole sugarcane could be used as a roughage for growing Holstein crossbred dairy cattle, and the optimum nutrient level was of protein (10 gCP/ kgW0.75) and energy (885 kJ ME/kgW0.75) for maximum weight gain of 710 gram per day and improvement growth performance.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=07-Anan.pdf&id=327&keeptrack=5
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินได้ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมที่ได้รับต้นอ้อยตากแห้งเป็นอาหารหยาบหลัก
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2553
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของระดับโปรตีนในอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่ชี ผลของระดับเมทไธโอนีนในอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่ชี ระดับโปรตีนและพลังงานในอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีของปลาสวายโมง ผลของอาหารไก่เนื้อและอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ของไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ ชั่วรุ่นที่ 5) พันธุกรรมกับอาหารโคนม ผลของโปรตีนที่กินได้ต่อศักยภาพในการเจริญเติบโตและความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะในโคเนื้อลูกผสมบราห์มัน ผลของระดับโปรตีนต่อการเจริญเติบโตของกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea(Fabricius,1798) ผลของปลายเดือยในอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่เนื้อ ระดับโปรตีนและไขมันที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลากะรังหงส์ (Cromileptes altivelis) วัยรุ่น ผลของระดับไลซีนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตของนกกระทาญี่ปุ่นเพศผู้

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก