สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ุ
ศิราณี งอยจันทร์ศรี - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ุ
ชื่อเรื่อง (EN): Cage Culture of Pangasius bocourti Sauvage,1880 Broodstock
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศิราณี งอยจันทร์ศรี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: ปลาโมง เลี้ยงในกระชัง พ่อแม่พันธุ์
คำสำคัญ (EN): Pangasius bocourti, cage culture, broodstock
บทคัดย่อ: การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเพื่อเป็ นพ่อแม่พันธุ์โดยเลี้ยงแบบรวมเพศในกระชังขนาด 2 x 2 x1.8 เมตร จ านวน 4 กระชัง อัตราปล่อย 50 ตัวต่อกระชัง ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืดสกลนคร ปลาทดลองมีอายุ 2 ปี 8 เดือน ซึ่งยังไม่สามารถแยกเพศได้จากลักษณะภายนอก มีความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 47.8+3.1, 47.6+2.4,48.2+2.4 และ 48.0+2.6 เซนติเมตร ตามล าดับ และน ้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 1.5+0.3, 1.4+0.3, 1.3+0.3 และ1.3+0.3 กิโลกรัม ตามล าดับ ให้ปลาทดลองกินอาหารส าเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน ้าระดับโปรตีน 30 เปอร์เซ็นต์ปริมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของน ้าหนักปลาวันละ1 ครั้ง เวลา 20.00 น. ทดลองเลี้ยงระหว่างเดือนธันวาคม 2549 ถึงเดือนมีนาคม 2551 รวมเป็ นเวลา 16 เดือน ผลการทดลองพบว่า ปลาโมงมีความยาวสุดท้ายเฉลี่ยเท่ากับ 60.9+3.3, 59.7+2.4, 57.2+6.1และ58.4+3.7 เซนติเมตร ตามล าดับ น ้าหนักสุดท้ายเฉลี่ยเท่ากับ 3.0+0.5, 2.6+0.6,2.5+0.5 และ 2.5+0.6 กิโลกรัมตามล าดับ น ้าหนักเพิ่มเฉลี่ยเท่ากับ 3.33, 2.44, 2.49 และ 2.42 กรัมต่อวัน ตามล าดับ และอัตราการเจริญเติบโต จ าเพาะเท่ากับ 0.15, 0.13, 0.13 และ 0.13 เปอร์เซ็นต์ต่อวัน ตามล าดับ (เปรียบเทียบทางสถิติ 4 กระชัง) เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า ปลาทดลองมีอัตราการรอดตาย100เปอร์เซ็นต์ เป็ นปลาเพศผู้จ านวน 121 ตัว และเพศเมียจ านวน 79 ตัว ค่าความสมบูรณ์เพศของปลาโมงเพศผู้และเพศเมียมีค่าเท่ากับ 81.6 และ 30.4 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ เมื่อน าปลาที่มีความสมบูรณ์เพศมาทดลองฉีดกระตุ้นด้วยฮอร์โมนสังเคราะห์ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์พบว่าปลาโมงเพศเมียที่มีความสมบูรณ์เพศสามารถตกไข่ได้ทุกตัว โดยมีระยะเวลาตกไข่ 15.3+0.5 ชัวโมง ่ น ้าหนักไข่ 136.3+21.4 กรัม จ านวนไข่21,139+3,024 ฟอง อัตราการปฏิสนธิ59.7+5.2 เปอร์เซ็นต์ อัตราฟัก 56.7+5.2 เปอร์เซ็นต์และอัตรารอดตายเฉลี่ย 70.2+4.9 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ สรุปได้ว่าการเลี้ยงปลาโมงในกระชังแบบรวมเพศ ท าให้ปลาเจริญเติบโตและมีความสมบูรณ์เพศสามารถเป็ นพ่อแม่พันธุ์ได้เช่นเดียวกับการเลี้ยงในบ่อดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงปลาโมงในกระชังเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ุ
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2553
เอกสารแนบ 1
การเลี้ยงปลาโมงในกระชังด้วยอัตราปล่อยต่างกัน การศึกษาสมรรถนะการเจริญเติบโต คุณภาพเนื้อและคุณภาพซาก ของปลาโมงและปลาโมงลูกผสม จากการเลี้ยงในกระชัง การอนุบาลลูกปลาสวายโมงในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน การศึกษาสมรรถนะการเจริญเติบโตของปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลาโมง (Pongosius bocourti) ในการทดลองเลี้ยงปลาในพื้นที่ที่มีปัญหาดินเค็ม การศึกษาการเลี้ยงปลาค้อลายถี่ (เปลี่ยนแปลงชื่อเรื่องเป็น การศึกษาการเลี้ยงปลาค้อลายถี่เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์) การศึกษาสภาวะเศรษฐกิจสังคมของการเลี้ยงปลาโมงในกระชัง ในแม่น้าโขง จังหวัดนครพนม ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสำคัญเชิงเพาะเลี้ยงระหว่างปลานิลแดงเพศผู้ 4 สายพันธุ์ ที่เลี้ยงในกระชัง การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปลาโมงและปลาโมงลูกผสมเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขันเชิงพาณิชย์ ปัจจัยของการเกิดโรคปลาที่เลี้ยงในกระชังในแม่น้ำมูลเขต จ.อุบลราชธานี ปัจจัยของการเกิดโรคปลาที่เลี้ยงในกระชังในแม่น้ำมูลเขต จ.อุบลราชธานี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก