สืบค้นงานวิจัย
ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากผลพลอยได้โรงงานน้ำตาลต่อผลผลิต องค์ประกอบผลผลิตของอ้อยและสมบัติบางประการของดิน
ชาลินี คงสุด - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากผลพลอยได้โรงงานน้ำตาลต่อผลผลิต องค์ประกอบผลผลิตของอ้อยและสมบัติบางประการของดิน
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of organic fertilizer from sugar factory by-product on yield, yield components of sugarcane and soil properties
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชาลินี คงสุด
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chalinee Khongsud
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ศึกษาผลของปุ้ยอินทรีย์จากผลพลอยได้โรงงานน้ำตาลต่อผลผลิต องค์ประกอบผลผลิตของอ้อย พันธุ์ขอนแก่น 3 และสมบัติบางประการของดิน โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block ผลการทดลอง พบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 300 กก.ไร่ ร่วมกับปุ้ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักของปุ้ยอินทรีย์ อัตรา 300 กก./ไร่ มีผลให้ผลผลิตอ้อยสด จำนวนลำต่อไร่ น้ำหนักต่อลำ ค่า commercial cane sugar (CCS) ผลผลิต น้ำตาล และปริมาณความเข้มข้นของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่สะสมในท่อนลำของอ้อยมากที่สุด ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักของปุ๊ยอินทรีย์อัตรา 600 กก./ไร่ ภายหลังการทดลอง พบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 600 กก./ไร่ มีผลให้ค่า p H ของดินต่ำที่สุด ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ้ยอินทรีย์อัตรา 300 กก./ไร่ ร่วมกับปุยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักของปุ้ยอินทรีย์อัตรา 300 กก./ไร่ นอกจากนี้ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 600 กก/ไร่ มีผลให้ค่า EC . และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ของดินสูงที่สุด ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ย อินทรีย์อัตรา 300 กก./ไร่ ร่วมกับปุ้ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักของปุ้ยอินทรีย์อัตรา 300 กก./ไร่ ขณะที่การใส่ปุ๋ย อินทรีย์อัตรา 600 กก/ไร่ มีผลให้ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และค่าความจุความชื้นที่ เป็นประโยชน์ (available water capacity, AWCA) ของดินสูงที่สุด รองลงมา คือ การใส่ปุ้ยอินทรีย์อัตรา 300 กก./ไ ร่วมกับปุยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักของปุ้ยอินทรีย์อัตรา 300 กก./ไร่
บทคัดย่อ (EN): The aim of this study was to investigate the effects of organic fertilizer (OF) from sugar factory by-product on yield, yield components of sugarcane var. Khon Kaen 3 and some soil properties. Experimental design was randomized complete block (RCBD) consisting of 9 treatments. The study revealed that the OF application of 300 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 300 kg/rai of the OF effected on the highest of fresh yield, numbers of stalk, weight/stalk, CCS, sugar yield and concentrations of N, P, K in stalk which was not different from the applications of chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 600 kg/rai of the OF. After experiment, it was found that the OF application of 600 kg/rai resulted in the lowest soil pH which was not different from the OF application of 300 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 300 kg/rai of the OF. Furthermore, the OF application of 600 kg/rai effected on the highest ECe and exchangeable K of soil which was not different from the OF application of 300 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 300 kg/rai of the OF. While, the OF application of 600 kg/rai effected on the highest of organic matter, available P and available water capacity (AWCA) of soil, followed by that the OF application of 300 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 300 kg/rai of the OF.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=1_109_60_Chalinee.pdf&id=3280&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากผลพลอยได้โรงงานน้ำตาลต่อผลผลิต องค์ประกอบผลผลิตของอ้อยและสมบัติบางประการของดิน
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2561
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ศักยภาพการให้ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และสหสัมพันธ์ของ องค์ประกอบผลผลิตกับผลผลิตของมันเทศ 5 พันธุ์ ผลของชนิดปุ๋ยอินทรีย์ ต่อผลผลิต และองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่มีต่อสมบัติของดินและผลผลิตข้าวในดินนาชุดนครปฐม ปริมาณสารเภสัชกรรมของผลิตภัณฑ์น้ำตาลอ้อยและการศึกษาพัฒนากระบวนการผลิตน้ำตาลอ้อยแบบเกล็ด ผลการใช้ปุ๋ยตามค่าการวิเคราะห์ดินที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพอ้อย อิทธิพลของระยะปลูกต่อผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าว 3 พันธุ์ภายใต้ระบบการปลูกแบบประณีต ผลของการจัดการปุ๋ยธาตุอาหารหลักร่วมกับสังกะสีต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบผลผลิตของอ้อย ผลของปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อผลผลิตของเฟิร์นผักกูด ศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงคุณภาพดินจากเถ้าชีวมวล การผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากของเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตเอทานอล และแก๊สชีวภาพจากลำไยตกเกรด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก