สืบค้นงานวิจัย
การคัดแยกสายพันธุ์ยีสต์ที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอลจากเปลือกสับปะรด
สมศักดิ์ ธรรมวงษ์, ทัดดาว อินทร์ประสิทธิ์ - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การคัดแยกสายพันธุ์ยีสต์ที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอลจากเปลือกสับปะรด
ชื่อเรื่อง (EN): Screening of Yeast Strains Potential Used for Ethanol Production from Pineapple Peel
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การคัดแยกยีสต์จานวนทั้งหมด 50 สายพันธุ์ ที่แยกได้จากตัวอย่างดินป่าไม้บริเวณมหาวิทยาลัยพะเยา และดินป่าไม้อุทยานแห่งชาติดอยภูนาง จังหวัดพะเยาที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอล โดยใช้น้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรุกโตสเป็นวัตถุดิบ พบว่ามีเพียง 20 สายพันธุ์ คือ UP2, UP3, UP6, UP7, UP8, UP11, UP13, UP14, UP15, UP16, UP17, UP23, UP25, UP28, UP33, UP34, UP35, UP36, UP46 และ UP48 สามารถการผลิตเอทานอลจากน้าตาลทั้ง 3 ชนิดได้อย่างรุนแรงและรวดเร็ว เมื่อทาการคัดเลือกยีสต์ทั้ง 20 สายพันธุ์ไปทดสอบความสามารถในการผลิตเอทานอลจากเปลือกสับปะรด พบว่าสายพันธุ์ UP8, UP16, UP23 และ UP34 เป็นสายพันธุ์ที่ผลิตเอทานอลได้สูง การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอทานอลพบว่ายีสต์ทั้ง 4 สายพันธุ์ ผลิตเอทานอลได้สูงสุดเมื่อมีน้าตาลเริ่มต้น 20% (w/v) มีค่า pH ของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 5 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส แบบไม่ต้องมีการเขย่า สามารถผลิตเอทานอลจากน้าเปลือกสับปะรดได้สูงสุด 8.4%, 8.5%, 8.5%, 8.5% (v/v) ตามลาดับ ผลจากการจัดจาแนกยีสต์ทั้ง 4 สายพันธุ์โดยการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และชีวเคมี รวมทั้งการเปรียบเทียบลาดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ D1/D2 ของ 26S rDNA กับฐานข้อมูลในอินเตอร์เน็ตและการศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการพบว่ายีสต์ทั้ง 4 สายพันธุ์คือ UP8, UP16, UP23 และ UP34 เป็นยีสต์สปีชีส์เดียวกันและสามารถระบุสปีชีส์ได้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การคัดแยกสายพันธุ์ยีสต์ที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอลจากเปลือกสับปะรด
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2557
การผลิตเอทานอลจากกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันโดยเชื้อผสมที่คัดเลือก การเปรียบเทียบคุณภาพสับปะรดรับประทานผลสดพันธุ์ใหม่ใน 3 พื้นที่และการยอมรับของผู้บริโภค การเปรียบเทียบคุณภาพสับปะรดรับประทานผลสดพันธุ์ใหม่ใน 3 พื้นที่และการยอมรับของผู้บริโภค การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การสำรวจและติดตามข้อมูลด้านการผลิตของเกษตรกรต่อการใช้ประโยชน์เพื่อการประเมินผลผลิตล่วงหน้าของสับปะรดในจังหวัดลำปาง การประเมินศักยภาพของน้ำตาลทรายดิบเพื่อการผลิตเอทานอล การพัฒนาวิธีการผลิตหน่อพันธุ์สับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก การผลิตและการตลาดสับปะรด จังหวัดเพชรบุรี การพัฒนาสายพันธุ์สับปะรดให้เหมาะสมกับผลสดและอุตสาหกรรมสับปะรด การผลิตหน่อพันธุ์สับปะรดพันธุ์เพชรบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก